องค์กรต้นแบบธุรกิจคาร์บอนต่ำและยั่งยืน
จากนโยบายของประเทศไทยที่มีความมุ่งมั่นดำเนินงานเพื่อมุ่งสู่เป้าหมาย Carbon Neutrality และ Net Zero วันนี้ TGO มีตัวอย่างองค์กรต้นแบบทั้งธุรกิจขนาดใหญ่ และขนาดกลาง ที่มีการปรับมุมมองเปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาส มีแนวปฏิบัติที่ดีและแนวทางการกำหนดกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจที่ตอบสนองต่อการมีส่วนร่วมของประเทศไทย และการร่วมมือกับประชาคมโลกในการแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อน ตลอดจนสร้างการเติบโตที่ยั่งยืนและคาร์บอนต่ำให้กับธุรกิจ เกิดประโยชน์ร่วมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
-----------------------
#องค์กรธุรกิจคาร์บอนต่ำและยั่งยืน องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก - องค์การมหาชน SCG PTTEP Fortune Parts Industry Public Company Limited
อยากขาย คาร์บอนเครดิต จะเริ่มยังไงดี?
.
จากกระแส การซื้อขายคาร์บอนเครดิตที่กำลังมาแรงในปัจจุบัน ทำให้มีผู้คนให้ความสนใจเป็นอย่างมากวันนี้เรามาทำความรู้จัก การขายคาร์บอนเครดิตให้มากขึ้น จากบทสัมภาษณ์นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จะมาเล่าให้เราฟังว่า หากท่านมีต้นไม้ หรือมีพื้นที่เปล่าไม่ได้ใช้งาน อยากซื้อขายคาร์บอนเครดิตต้องทำอย่างไร
.
#ท็อปวราวุธศิลปอาชา #TOPVarawut #TOPVarawutOnDuty
#Carboncredit #FTIX #TogetherPossible #BelieveinThaiPeople
#TGO #อบก #คาร์บอนเครดิต
🔴Live งานเปิดตัว โครงการ T-VER ระดับสากล (Premium T-VER)
🔴Live งานเปิดตัว "Premium T-VER"
ก้าวไปสู่อีกขั้นกับโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) “แบบมาตรฐานเทียบเท่าสากล”
.
วันที่ 4 ตุลาคม 2565 เวลา 09.30-12.00 น.
ณ ห้องวิภาวดี บอลรูม (ซี) โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ
.
เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการลดก๊าซเรือนกระจก
ภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER)
แบบมาตรฐานเทียบเท่าสากล
.
📌กำหนดการ
1. กล่าวเปิดและปาฐกถาพิเศษ เรื่อง การมุ่งสู่ carbon neutrality ของภาคธุรกิจด้วยคาร์บอนเครดิต" โดย นายเกียรติชาย ไมตรีวงษ์ ผู้อำนวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
2. การยกระดับโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) สู่มาตรฐานที่เทียบเท่าระดับสากล โดย ดร.ปวีณา พาณิชยพิเชฐ ผู้จัดการ สำนักประเมินและรับรองโครงการ TGO
3. ทิศทาง แนวโน้ม และตลาดค
TBCSD Climate Action
🔴Live งาน TBCSD Climate Action 🌍 “ต้นแบบธุรกิจคาร์บอนต่ำและยั่งยืน Low Carbon and Sustainable Business” SEASON 4 (ครั้งที่ 4)
.
พบกับการเสวนาในหัวข้อ
“การยกระดับมาตราฐานขององค์กรธุรกิจไทย ไปสู่การเป็นธุรกิจคาร์บอนต่ำและยั่งยืนในอนาคต”
จาก กลุ่มพลังงานไฟฟ้า กลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม กลุ่มเทคโนโลยี
.
ทุกท่านสามารถรับชมงานดังกล่าว ผ่านทาง Facebook Live
เพจ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย - TEI และ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก - องค์การมหาชน
วันที่ 3 ตุลาคม 2565 ⏰️ เวลา 13.30 – 16.30 น.
--------------------------------------------
#TGO #อบก #องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
#TEI #สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย
#ถ่ายทอดสดงานสัมมนาสมาชิกเครือข่ายคาร์บอนนิวทรัลประเทศไทย ประจำปี 2565
ถ่ายทอดสดงานสัมมนาสมาชิกเครือข่ายคาร์บอนนิวทรัลประเทศไทย ประจำปี 2565
“Thailand Carbon Neutral Network: Climate Action Partnership towards Carbon Neutrality/Net Zero Emission”
🔴 Live พิธีปิดโครงการแถลงผลสำเร็จโครงการ LCSB ประจำปี 2565
🔴 Live พิธีปิดโครงการแถลงผลสำเร็จโครงการประเมินและจัดระดับธุรกิจคาร์บอนต่ำและยั่งยืนประจำปี 2565
.
20 กันยายน 2565 เวลา 10.00-12.00 น.
.
เพื่อเผยแพร่แนวทางการดำเนินธุรกิจที่คาร์บอนต่ำและยั่งยืน และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดำเนินธุรกิจที่มุ่งเน้นการลดก๊าซเรือนกระจกและให้ความสำคัญด้านความยั่งยืนทุกมิติ คือ มิติเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม ตลอดจนแถลงผลการประเมินและจัดระดับธุรกิจคาร์บอนต่ำและยั่งยืน
.
📌กำหนดการ
1. กล่าวรายงานความสำเร็จและผลการประเมินและจัดระดับธุรกิจคาร์บอนต่ำและยั่งยืน ประจำปี 2565 โดย ภคมน สุภาพพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมตลาดคาร์บอนและนวัตกรรม TGO
2. กล่าวต้อนรับและกล่าวเปิดงาน โดย เกียรติชาย ไมตรีวงษ์ ผู้อำนวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
3. กล่าวเจตนารมณ์การขับเคลื่อนองค์กรที่มีการดำ
20 กันยายน นี้ เตรียมพบกับ Facebook Live !!
พิธีปิดโครงการแถลงผลสำเร็จโครงการประเมินและจัดระดับธุรกิจคาร์บอนต่ำและยั่งยืนประจำปี 2565
.
วันที่ 20 กันยายน 2565 เวลา 10.00-12.00 น.
.
เผยแพร่แนวทางการดำเนินธุรกิจที่คาร์บอนต่ำและยั่งยืน
แลกเปลี่ยนประสบการณ์การดำเนินธุรกิจที่มุ่งเน้นการลดก๊าซเรือนกระจก
.
ให้ความสำคัญด้านความยั่งยืนทุกมิติ
มิติเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม
ตลอดจนแถลงผลการประเมินและจัดระดับธุรกิจคาร์บอนต่ำและยั่งยืน
.
ติดตามรายละเอียดได้ที่ Event Facebook : https://fb.me/e/1WzSGfnwL
หากมีข้อสงสัย ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่: นางสาวพิชญา สาระรักษ์ Email : [email protected] หรือ ติดต่อ 02-141-9832
.
ถ้าไม่อยากพลาดกิจกรรมดีๆ จาก TGO อย่าลืมกด Like Fan Page TGO ด้วยนะ
🔴 Live สัมมนาเผยแพร่ผลสำเร็จโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมคาร์บอนต่ำใน EEC
🔴 Live สัมมนาเผยแพร่ผลสำเร็จโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมคาร์บอนต่ำในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน
.
14 กันยายน 2565 เวลา 08.30-12.00 น.
.
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ผลสำเร็จโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมคาร์บอนต่ำในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนโดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ โรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา
.
📌กำหนดการ
1. กล่าวเปิดการสัมมนา
โดย นายเกียรติชาย ไมตรีวงษ์ ผู้อำนวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
2. กล่าวรายงาน ผลการดำเนินงานโครงการฯและวิสัยทัศน์ในอนาคต
โดย นายเจษฎา สกุลคู ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมเมืองและสังคมคาร์บอนต่ำ TGO
3. พิธีมอบโล่ประกาศเกียรติคุณให้แก่โรงงานอุตสาหกรรมต้นแบบ
โดย นายเกียรติชาย ไมตรีวงษ์ ผู้อำนวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซ
🔴 Live สัมมนาผลสำเร็จ “โครงการขยายผลการส่งเสริมการจัดทำ CFO ในภาคอุตสาหกรรม”
🔴 Live สัมมนาเผยแพร่ผลสำเร็จการดำเนินงาน “โครงการขยายผลการส่งเสริมการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรในภาคอุตสาหกรรม”
.
13 กันยายน 2565 เวลา 13.00-16.30 น.
.
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ผลสำเร็จการดำเนินงานโครงการขยายผลการส่งเสริมการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร ในภาคอุตสาหกรรม โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน หน่วยงานราชการ และบุคคลทั่วไปที่สนใจ
.
📌กำหนดการ
1. กล่าวเปิดงาน โดย นางสาวภคมน สุภาพพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมตลาดคาร์บอนและนวัตกรรม TGO และ นายธันยพัฒน์ มั่นณิชนันทน์ รองเลขาธิการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการและเลขานุการ สถาบันน้ำและสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน
2. สรุปผลการดำเนินโครงการ โดย นางสาวชนันดา ปัญญา เจ้าหน้าที่โครงการ สถาบันน้ำและสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน FTI
3. ประโยช
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด "ภูเก็ต"
“ภูเก็ต” เกาะขนาดใหญ่อันดับหนึ่งของประเทศไทย บนพื้นที่ประมาณ 570 ตารางกิโลเมตร โอบล้อมด้วยน้ำทะเลสีเขียวมรกตและมีหาดทรายขาวเนียน เหมาะแก่การพักผ่อน และการทำกิจกรรมทางทะเล ภูเก็ตเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ และเปี่ยมด้วยเรื่องราวทางวัฒนธรรมที่สั่งสมหล่อหลอมอยู่ในวิถีชีวิตของผู้คน
.
ทราบหรือไม่ว่า จังหวัดภูเก็ต จะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปี พ.ศ. 2556 พบว่าจังหวัดภูเก็ต มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 133,283 ล้านบาท มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 369,522 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 688,110 คน ซึ่งจากทุกกิจกรรมของภูเก็ต ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 2.64 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2eq) คิดเป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 3.83 tCO2eq/คน คิดจากประชากรทั้งหมด โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของจัง
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด "นครราชสีมา"
“นครราชสีมา” หรือรู้จักในชื่อ โคราช ประตูสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ มีขนาด 20,494 ตารางกิโลเมตร และยังมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองจากกรุงเทพฯ เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ ทั้งภาคการค้าและบริการ และอุตสาหกรรมการผลิต
.
ทราบหรือไม่ว่า จังหวัดนครราชสีมา จะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปี พ.ศ. 2561 พบว่าจังหวัดนครราชสีมา มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 185,839 ล้านบาท มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 2,646,401 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 2,746,411 คน ซึ่งจากทุกกิจกรรมของนครราชสีมา ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 9.08 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2eq)
คิดเป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 3.31 tCO2eq/คน คิดจากประชากรทั้งหมด โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของจังหวัดนครร
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด "อุทัยธานี"
“อุทัยธานี” จังหวัดที่อยู่ทางภาคเหนือตอนล่างบริเวณลุ่มแม่น้ำสะแกกรัง มีขนาด 6,730 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่กว่า 4,525 ตารางกิโลเมตร เป็นที่ตั้งของผืนป่าและมรดกโลกทางธรรมชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ที่มีความหลากหลายและมีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรทางชีวภาพ
.
ทราบหรือไม่ว่า จังหวัดอุทัยธานี จะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปี พ.ศ. 2561 พบว่าจังหวัดอุทัยธานี มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 17,143 ล้านบาท มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 329,433 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 371,910 คน ซึ่งจากทุกกิจกรรมของอุทัยธานี ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 0.77 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2eq) คิดเป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 2.08 tCO2eq/คน คิดจากประชากรทั้งหมด โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของจังหวัดอุทัย
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด "สตูล"
“สตูล” จังหวัดใต้สุดของประเทศไทยด้านฝั่งอันดามัน ห่างจากกรุงเทพฯ 973 กิโลเมตร โดยมีเนื้อที่ประมาณ 2,807 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,754,701 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดตรัง สงขลา และยังมีธรรมชาติที่สวยงามแวดล้อมด้วยภูเขาและทะเล อุดมสมบูรณ์ด้วยป่าไม้ทั้งป่าบกและป่าชายเลน รายล้อมด้วยหมู่เกาะที่สวยงามกว่าร้อยเกาะ
.
ทราบหรือไม่ว่า จังหวัดสตูล จะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปีพ.ศ. 2558 พบว่าจังหวัดสตูล มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 31,335 ล้านบาท มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 315,923 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 360,302 คน ซึ่งจากทุกกิจกรรมของสตูล ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 506,673 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (tCO2eq) คิดเป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 1.39 tCO2eq/คน คิดจากประชากรทั้งหมด โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจ
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด "สระบุรี"
“สระบุรี” เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านทางระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ประมาณ 3,576 ตารางกิโลเมตร มีระบบโครงข่ายการคมนาคมที่เชื่อมโยงกับจังหวัดและภูมิภาคอื่นๆ และยังเป็นจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นแหล่งทรัพยากรที่สำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์และการก่อสร้างของประเทศ
.
ทราบหรือไม่ว่า จังหวัดสระบุรี จะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปี พ.ศ.2558 พบว่าจังหวัดสระบุรี มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 203,801 ล้านบาท มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 637,673 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 745,318 คน ซึ่งจากทุกกิจกรรมของสระบุรี ก่อให้เกิดการปล่อยก
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด "น่าน"
“น่าน” จังหวัดทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 12,129 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดน่านเป็นป่าและภูเขาสลับซับซ้อนถึง 85% ของพื้นที่ทั้งหมดของจังหวัด และยังเป็นแหล่งกำเนิดแม่น้ำสายสำคัญ มีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม ที่งดงาม และยิ่งในช่วงฤดูหนาวจังหวัด "น่าน" ยังเป็นจุดหมายสำคัญของการท่องเที่ยวไม่แพ้จังหวัดอื่นๆ ทางภาคเหนือเลยทีเดียว
.
ทราบหรือไม่ว่า จังหวัดน่าน มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปี พ.ศ. 2558 พบว่าจังหวัดน่าน มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 28,558 ล้านบาท มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 479,518 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 543,858 คน ซึ่งจากทุกกิจกรรมของน่าน ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 2.09 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเ
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด "นนทบุรี"
“นนทบุรี” จัดเป็นพื้นที่ในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร มีขนาดเนื้อที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 75 ของประเทศ ในเนื้อที่ประมาณ 622 ตารางกิโลเมตร โดยตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา โดยแบ่งพื้นที่เป็นสองส่วนคือ ฝั่งตะวันออก และ ฝั่งตะวันตก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีคูคลองจำนวนมาก คลองแต่ละสายเชื่อมต่อกัน เป็นพื้นที่อยู่อาศัยที่รองรับการขยายตัวจากเมืองหลวง มีความเจริญแทบทุกด้านเทียบเท่ากรุงเทพฯ นับเป็นพื้นที่ที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดจังหวัดหนึ่งของประเทศ
.
ทราบหรือไม่ว่า จังหวัดนนทบุรี จะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปี พ.ศ.2557 พบว่าจังหวัดนนทบุรี มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 268,806 ล้านบาท มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 1,173,870 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 1,766,243 คน ซึ่งจากทุกกิจกร
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด "กาฬสินธุ์"
“กาฬสินธุ์” จังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุดจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ประมาณ 6,947 ตารางกิโลเมตร เป็นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ และแหล่งโบราณคดีจากยุคไดโนเสาร์ จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี
.
ทราบหรือไม่ว่า จังหวัดกาฬสินธุ์ จะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปีพ.ศ. 2561 พบว่าจังหวัดกาฬสินธุ์ มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 36,560 ล้านบาท มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 985,346 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 1,099,638 คน ซึ่งจากทุกกิจกรรมของกาฬสินธุ์ ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 1.81 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2eq) คิดเป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 1.65 tCO2eq/คน คิดจากประชากรทั้งหมด โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด "สระแก้ว"
“สระแก้ว” จังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในภาคตะวันออก มีขนาดพื้นที
ประมาณ 7,219 ตารางกิโลเมตร เป็นประตูบานใหญ่ที่เปิดสู่ประเทศกัมพูชา เชื่อมการค้า การคมนาคมและการท่องเที่ยวระหว่างประเทศ
มีทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพื้นที่ป่าไม้ของสระแก้วยังเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำบางปะกง
.
ทราบหรือไม่ว่า จังหวัดสระแก้ว จะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปีพ.ศ. 2560 พบว่าจังหวัดสระแก้ว มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 45,250 ล้านบาท มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 561,938 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 638,645 คน ซึ่งจากทุกกิจกรรมของสระแก้ว ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 1.54 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2eq) คิดเป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 2.42 tCO2eq/คน คิดจากประชากรทั้งหมด โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของจั
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด "หนองคาย"
“หนองคาย” เมืองน่าอยู่อันดับ 7 ของโลก* จังหวัดชายแดนที่เล็กที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 มีขนาดพื้นที่ประมาณ 3,026 ตารางกิโลเมตร ลักษณะเป็นรูปยาวเรียงทอดไปตามลำน้ำโขง ซึ่งเป็นเส้นกั้นเขตแดนกับประเทศ สปป.ลาว เป็นจังหวัดที่เชื่อมเศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศ เปรียบเสมือนประตูสู่อินโดจีน และยังมีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการชมบั้งไฟพญานาคในวันออกพรรษา
.
ทราบหรือไม่ว่า จังหวัดหนองคาย จะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปี พ.ศ. 2560 พบว่าจังหวัดหนองคาย มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 40,053 ล้านบาท มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 521,886 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 597,309 คน ซึ่งจากทุกกิจกรรมของหนองคาย ก่อให้เ
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด "สมุทรปราการ"
“สมุทรปราการ” เมืองปากแม่น้ำเจ้าพระยาและยังเป็นจังหวัดปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร โดยมีพื้นที่ประมาณ 1,004 ตารางกิโลเมตร เป็นเมืองอุตสาหกรรมที่มีโรงงานจำนวนมาก และศูนย์กลางการขนส่งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ
.
ทราบหรือไม่ว่า จังหวัดสมุทรปราการ จะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปีพ.ศ. 2558 พบว่าจังหวัดสมุทรปราการ มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 685,392 ล้านบาท มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 1,279,310 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 1,940,772 คน ซึ่งจากทุกกิจกรรมของสมุทรปราการ ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 10.13 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2eq) คิดเป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 4.44 tCO2eq/คน คิดจากประชากรทั้งหมด โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของจังหวัดสมุทรปราการในปี พ.ศ.2558 = 10,127,568 tCO2eq
.
และคาดการณ์ว่าในปี 2573 ปริมาณกา
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด "สงขลา"
“สงขลา” จังหวัดใหญ่ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างฝั่งตะวันออกของประเทศไทย มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ ในพื้นที่ประมาณ 7,393 ตารางกิโลเมตร มีชุมชนโบราณและเมืองเก่าแก่ มีโบราณสถาน โบราณวัตถุ ขนบธรรมเนียมประเพณี และการละเล่นพื้นเมือง ศิลปะพื้นบ้านเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสงขลา และยังเป็นจังหวัดที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจจากภาคอุตสาหกรรม เป็นศูนย์กลางทางการค้าและการลงทุนที่สำคัญในภาคใต้
.
ทราบหรือไม่ว่า จังหวัดสงขลา จะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปี พ.ศ. 2557 พบว่าจังหวัดสงขลา มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 226,333 ล้านบาท มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 1,401,303 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 1,624,152 คน ซึ่งจากทุกกิจกรรมของสงขลา ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 6.22 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบ
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด "อุดรธานี"
“อุดรธานี” จังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 11,119 ตารางกิโลเมตร เป็นศูนย์กลางหน่วยงานราชการ การค้า การท่องเที่ยว รวมทั้งเป็นศูนย์กลางของอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคอาเซียน มีแหล่งอารยธรรมบ้านเชียง ซึ่งเป็นร่องรอยของอารยธรรมมนุษย์ที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก
.
ทราบหรือไม่ว่า จังหวัดอุดรธานี จะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปี พ.ศ. 2558 พบว่าจังหวัดอุดรธานี มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 98,757 ล้านบาท มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 1,575,152 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 1,790,972 คน ซึ่งจากทุกกิจกรรมของอุดรธานี ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 3.13 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2eq) คิดเป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 1.75 tCO2eq/คน คิดจา
🔴 Live งานพิธีเปิดศูนย์เรียนรู้ “ภารกิจพิชิตโลกร้อน”
🔴 Live งานพิธีเปิดศูนย์เรียนรู้ “ภารกิจพิชิตโลกร้อน”
.
17 มกราคม พ.ศ.2565 เวลา 10.30-11.10 น.
.
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก(องค์การมหาชน) หรือ อบก. ร่วมกับองค์การบริหาร ส่วนตำบลท่ามะนาว จังหวัดลพบุรี ร่วมจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ “ภารกิจพิชิตโลกร้อน” โดยได้รับการสนับสนุนเงินทุนจาก มูลนิธิ Zukunft des kohlenstoffmarktes (Future of the Carbon Market Foundation) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ในเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และแนวทางการลดก๊าซเรือนกระจกผ่าน กิจกรรมต่างๆ แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นักเรียน และบุคคล/ หน่วยงานที่สนใจ
.
เหมาะสำหรับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นักเรียน และบุคคล/ หน่วยงานที่สนใจ
.
📌กำหนดการ
1. กล่าวต้อนรับ โดย วสันต์ ดรชัย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่ามะนาว
2. ชมวิดิทัศน์แนะนำศูนย์เรียนรู้ “ภารกิจพิชิตโลกร้อน”
3. กล่าวเป
🔴 Live พิธี MOU โครงการพัฒนาแนวทางลดก๊าซเรือนกระจกระดับจังหวัด
🔴 Live พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โครงการพัฒนาแนวทางลดก๊าซเรือนกระจกระดับจังหวัด และ โครงการนำร่องเพื่อพัฒนากิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจกระดับเมืองโดยใช้กลไกตลาดเป็นแรงจูงใจ
.
12 มกราคม พ.ศ.2565 เวลา 08.30-10.30 น.
.
เพื่อสนับสนุนเมืองในประเทศไทยและสาธารณรัฐอินโดนีเซียในการศึกษาศักยภาพความพร้อมและพัฒนาร่างข้อเสนอต้นแบบโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภายใต้บริบทความตกลงปารีส ข้อที่ 6 ในระดับท้องถิ่น
.
📌กำหนดการ
1. ชมวิดิทัศน์ “โครงการพัฒนาแนวทางลดก๊าซเรือนกระจกระดับจังหวัด”
2. พิธีเปิด
- กล่าวรายงาน วัตถุประสงค์ และความเป็นมาโครงการ
โดย นายเกียรติชาย ไมตรีวงษ์ ผู้อำนวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
- กล่าวเปิดงาน
โดย นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
3. โครงการพัฒนาแนวทางลดก๊าซเรือนกระจกระดับจังหวัด โดย น
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด"สุพรรณบุรี"
"สุพรรณบุรี" เมืองอู่ข้าวอู่น้ำของประเทศไทย ดินแดนแห่งความอุดมสมบูรณ์บนพื้นที่ราบภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 5,358 ตารางกิโลเมตร
โดยส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนานและแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลาย
.
หลายคนทราบหรือไม่ว่า จังหวัดสุพรรณบุรี จะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปี พ.ศ. 2561 พบว่าจังหวัดสุพรรณบุรี มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 51,437 ล้านบาท
มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 848,720 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 1,199,649 คน ซึ่งจากทุกกิจกรรมของสุพรรณบุรี ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 3.14 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2eq)
คิดเป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 2.62 tCO2eq/คน คิดจากประชากรทั้งหมด
.
และคาดการณ์ว่าในปี 2573 ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของสุพรรณบุรี จะสู
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจก จังหวัด "เชียงใหม่"
“เชียงใหม่” จังหวัดสำคัญในภาคเหนือ ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ ในพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร
.
ด้วยธรรมชาติที่สวยงามผสมผสานกับวัฒนธรรมล้านนาและสีสันของความร่วมสมัยอย่างลงตัว ของเชียงใหม่ จึงเป็นจังหวัดที่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติหลั่งไหลเข้ามาจำนวนมาก ปีละหลายล้านคน
.
หลายคนทราบหรือไม่ว่า จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมทางภาคเหนือ จะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่ ?
.
จากข้อมูล ในปี พ.ศ.2561 จังหวัดเชียงใหม่ มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 144,121 ล้านบาท มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 1,763,742 คน และมีประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) 2,007,970 คน ซึ่งจากทุกกิจกรรมของเชียงใหม่ ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกราว 6.31 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2eq) หรือ คิดเ
ข้อมูลการปล่อย GHG และการพัฒนาแผนการลดก๊าซเรือนกระจกของ "กรุงเทพมหานคร"
"กรุงเทพมหานคร"
เมืองหลวงของไทย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การปกครอง การคมนาคมขนส่ง ความเจริญของของประเทศ และยังเป็นพื้นที่ที่มีความหนาแน่นประชากรมากที่สุดของประเทศไทย
.
ทุกคนรู้หรือไม่ว่า ? จากทุกกิจกรรมของ "กรุงเทพมหานคร" ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณเท่าไหร่
.
จากข้อมูล ในปี พ.ศ. 2556 พบว่า "กรุงเทพมหานคร" มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สูงถึง 3,932,394 ล้านบาท
มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ จำนวน 5,686,252 คน และประชากรทั้งหมด (รวมประชากรแฝง) จำนวน 9,461,455 คน
ซึ่งก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณ 40.79 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2eq) คิดเป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 4.31 tCO2eq/คน คิดจากประชากรทั้งหมด
.
และคาดการณ์ว่าในปี 2573 ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของกรุงเทพมหานคร จะสูงถึง 57.51 MtCO2eq
.
จากการศึกษาข้อมูลของ องค์การบริหารจัด
🔴 Live งานสัมมนา “คาร์บอนเครดิตในประเทศไทย”
🔴 Live งานสัมมนา “คาร์บอนเครดิตในประเทศไทย”
.
22 ธันวาคม พ.ศ.2564 เวลา 09.00-12.30 น.
.
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. ได้พัฒนาโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program: T-VER) ขึ้นตั้งแต่ปี 2557 เพื่อส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ผลิตพลังงานหมุนเวียน และการกักเก็บคาร์บอนในภาคป่าไม้ ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักที่มีศักยภาพและเป็นเป้าหมายสำคัญในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายในประเทศ ซึ่งปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดหรือกักเก็บได้ (คาร์บอนเครดิต) จากโครงการ T-VER จะสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น ชดเชยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กร บุคคล การจัดงานต่างๆ เป็นต้น
.
วัตถุประสงค์
1. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การพัฒนาโครงการคาร์บอนเคร
🔴 Live Carbon Pricing for Climate Actions กลไกราคาคาร์บอนกับการจัดการ Climate Change ครั้งที่ 1
🔴 Live Carbon Pricing for Climate Actions
กลไกราคาคาร์บอนกับการจัดการ Climate Change ครั้งที่ 1
.
20 ธันวาคม พ.ศ.2564 เวลา 09.30-12.00 น.
.
เพื่อเผยแพร่ความรู้และรับฟังความคิดเห็น เกี่ยวกับกลไกราคาคาร์บอน เพื่อส่งเสริมการลดก๊าซเรือนกระจกในทุกภาคส่วน
.
เหมาะสำหรับ General Participants (Several sectors)
***หมายเหตุ บุคคลทั่วไป หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน สามารถรับชม Facebook Live Streaming : องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก – องค์การมหาชน
.
📌กำหนดการ
1. กล่าวเปิดงาน และแสดงวิสัยทัศน์ “นโยบายด้าน Climate Change ของประเทศไทยและแนวทางการดำเนินงาน Post-COP26” โดย นายเกียรติชาย ไมตรีวงษ์ ผู้อำนวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
2. Update: การใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อสนับสนุนการลดก๊าซเรือนกระจก โดย อโณทัย สังข์ทอง ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมตลาดคาร์บอนและนวัตกรรม TGO
3. กลไกราคาคาร์บอน” (Carbon Pricing) : ภาษีคาร์บอน (Carbon Tax) โดย
🔴 Live งานสัมมนาเตรียมความพร้อมด้านคาร์บอนเครดิต Post-COP 26
🔴 Live งานสัมมนาออนไลน์ "การเตรียมความพร้อมด้านคาร์บอนเครดิต Post-COP 26 และการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับการลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศไทย"
.
15 ธันวาคม 2564 เวลา 09.30-12.00 น.
.
เพื่อสรุปผลประเด็นสำคัญจากการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 หรือ COP26 รวมถึงการเตรียมความพร้อมของภาคส่วนต่างๆ และทิศทางการขับเคลื่อนตลาดคาร์บอนในประเทศไทยหลัง COP 26
.
เหมาะสำหรับ ภาครัฐ ภาคเอกชน และบุคคลทั่วที่สนใจ
.
📌กำหนดการ
1. กล่าวต้อนรับ เปิดงานสัมมนา และบรรยาย COP 26 Outcome and Thailand’s Pathway towards Carbon Neutralityโดย นายเกียรติชาย ไมตรีวงษ์ ผู้อำนวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
2. สรุปผลความตกลงปารีส ข้อที่ 6 (Article 6) ข้อกำหนดเกี่ยวกับการดำเนินความร่วมมือระหว่างรัฐภาคี (Cooperative implementation) และการเตรียมความพร้อมของประเทศไทย
- Article 6.2 หลักการข