
พื้นที่ป่าได้รับการฟื้นฟูและดูแลร?
เปิดเหมือนปกติ


30/09/2022

26/09/2022

20/09/2022

16/09/2022

15/09/2022

09/09/2022

07/09/2022

31/08/2022

26/08/2022

25/08/2022

18/08/2022

15/08/2022

08/08/2022

05/08/2022
https://portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=ede5046e-c32d-46df-b9dc-d9b5d23d11e4.pdf

05/08/2022

05/08/2022

02/08/2022
https://portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=34b34678-9166-4349-9d91-3d6cb9778115.pdf

22/07/2022
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ขอเชิญชวนประชาชนร่วมลงนามถวายพระพร เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๕ ผ่านระบบออนไลน์ ที่ เว็บไซต์ถวายพระพรของกรม ระหว่างวันที่ ๑๕ - ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๕
http://data.dnp.go.th/king65/

20/07/2022

20/07/2022

05/07/2022

30/06/2022

30/06/2022

17/06/2022

14/06/2022

14/06/2022

11/06/2022
https://portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=df2f0a3d-e15c-4255-a3a9-6fe6f1145349.pdf

10/06/2022
https://portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=d33d3902-3f4d-417b-9b60-ad46130a9172.pdf

02/06/2022
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ขอเชิญชวนประชาชนร่วมลงนามถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๖๕ ผ่านระบบออนไลน์
ที่ เว็บไซต์อวยพรของกรม http://data.dnp.go.th/queen65/
ระหว่างวันที่ ๑ - ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๕

27/05/2022

20/05/2022

29/04/2022

20/04/2022
กรมอุทยานแห่งชาติฯ เปิดรับสมัครสอบ ‘พนักงานราชการ’ ปี 2565 จำนวน 20 สายงาน 76 อัตรา
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ประกาศ รับสมัคร

18/04/2022

28/03/2022
https://portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=6fdb9174-d667-4fc5-863f-2b838531adfd.pdf

24/03/2022
https://portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=e29c1a73-d445-42f8-856e-bb19dab89ef5.pdf

22/03/2022

22/03/2022

21/03/2022

11/03/2022

08/03/2022

04/03/2022

03/03/2022

02/03/2022
ที่อยู่
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า แ
Bangkok
10900
เวลาทำการ
จันทร์ | 08:00 - 16:30 |
อังคาร | 08:30 - 16:30 |
พุธ | 08:00 - 16:30 |
พฤหัสบดี | 08:00 - 16:00 |
ศุกร์ | 08:00 - 16:30 |
เบอร์โทรศัพท์
เว็บไซต์
แจ้งเตือน
รับทราบข่าวสารและโปรโมชั่นของ สำนักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่ผ่านทางอีเมล์ของคุณ เราจะเก็บข้อมูลของคุณเป็นความลับ คุณสามารถกดยกเลิกการติดตามได้ตลอดเวลา
ติดต่อ ธุรกิจของเรา
ส่งข้อความของคุณถึง สำนักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่:
วิดีโอทั้งหมด

25 มกราคม 2562 เวลา 14.00 น. ฝ่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน (สายปฏิบัติงานที่ 1) สำนักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ ส่วนรังวัดแนวเขตที่ดินป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดประชุมที่บ้านแม่แว ม.2 ต.ยั้งเมิน อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ เพื่อให้ราษฎรที่อยู่อาศัยและทำกินอยู่รอบๆ แนวเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้ร่วมรับฟัง ชี้แจงและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการรังวัดหมายแนวเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ แก้ปัญหาลดความขัดแย้ง และสร้างความเข้าใจในการทำงานระหว่างเจ้าหน้าที่กับราษฎรที่อยู่อาศัยและทำกินรอบๆ ชุมชนที่ติดกับแนวเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสะเมิง

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช นำคณะสื่อมวลชนลงพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน เผยแนวทางการจัดการพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (25 ธ.ค.61) นายธัญญา เนติธรรมกุล อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มอบหมายให้นายบำรุง แสงพันธุ์ ผู้อำนวยการสำนักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ นายชิดชนก สุขมงคล ผู้อำนวยการสำนักพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 (สาขาแม่สะเรียง) นายวีระยุทธ วรรณเลิศสกุล ผู้อำนวยการส่วนจัดการที่ดินและชุมชนในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ นายนาวี ศิลป์สุภากุล หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยเวียงหล้า อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน นำคณะสื่อมวลชนลงพื้นที่ ณ บ้านพะโท ตำบลแม่กิ๊ อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน เข้าหารือร่วมประชุมกับชาวบ้านพะโท โดยมีนายสุขใจ วิชญพันธ์ ประธานคณะกรรมการวัฒนธรรมบ้านพะโทในฐานะผู้นำชุมชนบ้านพะโท ร่วมหารือกับทางคณะเจ้าหน้าที่กรมอุทยานแห่งชาติฯ ถึงผลการดำเนินงานตามแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ดินของราษฎรในเขตป่าอนุรักษ์ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2561 ซึ่งพื้นที่บ้านพะโทแห่งนี้ เป็นพื้นที่นำร่องในการบริหารจัดการพื้นที่ชุมชนที่อยู่อาศัยในเขตป่าอนุรักษ์ ตามหลักการคนอยู่กับป่า และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ โดยการมีส่วนร่วมของราษฎรผู้อาศัยในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ นายวีระยุทธ วรรณเลิศสกุล ผู้อำนวยการส่วนจัดการที่ดินและชุมชนในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้ให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่า พื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่กรมอุทยานแห่งชาติฯ รับผิดชอบดูแล ปกป้อง รักษา นั้นมีอยู่ประมาณ 80 ล้านไร่ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ซึ่งมักปัญหาการครอบครองที่ดินของราษฎรเพื่อการอยู่อาศัยและทำกินในเขตป่าอนุรักษ์ ซึ่งเป็นปัญหาที่สั่งสมมายาวนานตั้งแต่อดีต ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในการจัดการ และการบริหารพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ส่งผลกระทบต่อปัญหาของประเทศในภาพรวมทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ที่ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาให้เสร็จสิ้นและเป็นไปตามกฎหมายได้ มีเพียงการแก้ไขปัญหาทางด้านการบริหาร โดยการออกมติคณะรัฐมนตรีหลายครั้ง จนกระทั่งมีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เรื่อง การแก้ไขปัญหาที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ ที่กำหนดให้ราษฎรที่ครอบครองที่ดินในเขตป่าอนุรักษ์ ทำการตรวจสอบพิสูจน์การครอบครองที่ดิน เพื่อดำเน

วันที่ 21 สิงหาคม 2561 เจ้าหน้าที่จากสำนักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ ส่วนรังวัดแนวเขตที่ดินป่าไม้ ฝ่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ได้ดำเนินการจัดการประชาสัมพันธ์และประชุมราษฎร บ้านชายคลอง หมู่ที่ 4 ต.พนางตุง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง ณ ศาลาประชาคมบ้านชายคลอง ที่อาศัยทำกินอยู่รอบๆ แนวเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย เพื่อชี้แจงและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของเจ้าหน้าที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ร่วมกันแก้ปัญหาความขัดแย้ง และสร้างความเข้าใจในการทำงานระหว่างเจ้าหน้าที่กับราษฎรที่อาศัยทำกินรอบๆชุมชนที่ติดต่อกับแนวเขตป่าอนุรักษ์ มีราษฎรให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

ประชาสัมพันธ์งานรังวัดหมายแนวเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์
สำนักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ วันที่ 12 มิถุนายน 2561 ฝ่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน (สายปฏิบัติงานที่ 2) โดยคณะเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ ส่วนรังวัดแนวเขตที่ดินป่าไม้ ได้ดำเนินการจัดการประชาสัมพันธ์ราษฎร ที่บ้านซับน้อย หมู่ที่ 7 ตำบลลำนางแก้ว อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ณ ศาลาประชาคมบ้านซับน้อย โดยมีนายชัยพร ทับทิมทอง หัวหน้าเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาภูหลวง ได้เข้าร่วมชี้แจงและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของเจ้าหน้าที่ในเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาภูหลวง ตลอดจนกฏหมายป่าอนุรักษ์ในการห้ามล่าสัตว์ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ให้ราษฎรในพื้นที่ได้รับทราบ และทางคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์จากสำนักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ ได้ชี้แจงการทำงานของเจ้าหน้าที่ส่วนรังวัดแนวเขตที่ดินป่าไม้ ว่ามีขั้นตอนในการปฏิบัติงานภาคสนามในการรังวัดหมายแนวเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้ง และสร้างความเข้าใจในการทำงานระหว่างเจ้าหน้าที่กับราษฎรที่อาศัยทำกินรอบๆชุมชนที่ติดกับแนวเขตป่าอนุรักษ์

เมื่อวันศุกร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ 2561 สมาชิกเครือข่ายอาสาสมัครราษฎรพิทักษ์ป่ารักษาสิ่งแวดล้อมเดินทางศึกษาดูงาน ณ โครงการศูนย์เรียนรู้อันเนื่องมาจากพระราชดำริบ้านแม่นาเติง อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน

ประชาสัมพันธ์จัดทำแนวเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์
ส่วนรังวัดแนวเขตที่ดินป่าไม้ ฝ่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ได้มีการดำเนินการประชาสัมพันธ์งานด้านแนวเขตที่ดินให้กับราษฎรในพื้นที่เขตป่าอนุรักษ์ เป็นการส่งเสริมให้ชุมชนรอบแนวเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ มีการรับรู้และมีส่วนร่วมในการจัดทำแนวเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ณ อุทยานแห่งชาติผาแดง ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่

ประชาสัมพันธ์งานด้านแนวเขตที่ดินฯ
ส่วนรังวัดแนวเขตที่ดินป่าไม้ ฝ่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ได้มีการดำเนินการประชาสัมพันธ์งานด้านแนวเขตที่ดินให้กับราษฎรในพื้นที่เขตป่าอนุรักษ์ เป็นการส่งเสริมให้ชุมชนรอบแนวเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ มีการรับรู้และมีส่วนร่วมในการจัดทำแนวเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ณ อุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก

รัฐบาลดันแม่ฮ่องสอนโมเดล แก้ปัญหาที่ดิน-ความยากจน. แม่ฮ่องสอนเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในเขตป่า ปัจจุบันมีที่ดินเอกสารสิทธิ์อยู่ไม่ถึง 2% ของพื้นที่ทั้งจังหวัด ซึ่งถือเป็นข้อจำกัดที่ส่งผลต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งด้านคมนาคมและระบบสาธารณูปโภค หลายฝ่ายมองว่านี่เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ในช่วงตลอด 10 ปีผ่านมา แม่ฮ่องสอน ยังถูกจัดอันดับให้เป็นจังหวัดยากจนที่สุดในประเทศ ล่าสุดรัฐบาล โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เดินทางไปหารือกับทุกภาคส่วน เพื่อนำข้อเสนอในเวทีกลับไปพิจารณากำหนดเป็นนโยบาย พัฒนาให้เกิดความยั่งยืนในอนาคต จาก ข่าวสามมิติช่อง3

(19 มกราคม2561) หัวหน้าพีระ พันธุ์พิจิตร ร่วมกับหัวหน้าโครงการฯ ประชุมชี้แจง/ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานโครงการประชาคมเศรษฐกิจพอเพียง แก่ราษฎรบ้านห้วยผาก ณ ศาลากลางหมู่บ้านป่าผาก. ซึ่งได้รับงบประมาณจากกรมอุทยานแห่งชาติฯ ตามโครงการประชาคมเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ป่าไม้ฯ หมู่บ้านปีที่1ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 รับฟังปัญหาและความต้องการของชุมชน และการรับสมัครอาสาสมัครพิทักษ์อุทยานแห่งชาติฯ(อส.อส.)

“ศาสตร์พระราชา คือ ทางรอดของเกษตรกรไทย” เรื่องราวของ ครูศิลา ม่วงงาม จาก รร. บ้านหินโง่นสักง่า จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่ใช้ศาสตร์พระราชาพลิกฟื้นพื้นที่ที่แห้งแล้งราวกับทะเลทรายจากการทำไร่ข้าวโพดและการพึ่งพาสารเคมีจนหลายพื้นที่กลายเป็นเขาหัวโล้น ให้กลับสู่ความชุ่มชื้นและนำความอุดมสมบูรณ์กลับสู่ชุมชนต้นน้ำหินโง่นสักง่า อีกหนึ่งต้นแบบความสำเร็จจากโครงการ “พลังคนสร้างสรรค์โลก รวมพลังตามรอยพ่อของแผ่นดิน” โดยเชฟรอนประเทศไทย ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากคำสอนของในหลวงรัชกาลที่ 9

บทเพลงพิเศษเพื่อ "ผู้พิทักษ์ป่า" บุรุษผู้เสียสละในการดูแลผืนป่าของไทย โดย มูลนิธิเอสซีจี ขับร้อง: ศุ บุญเลี้ยง เนื้อร้อง / ทำนอง: พจนาถ พจนาพิทักษ์ เรียบเรียง: ฮิเดกิ มอริ เผยแพร่ 22 ก.ค. 2560

อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จ.นครราชสีมา เชิญชวนทุกท่านร่วมแข่งขันวิ่งเพื่อผู้พิทักษ์ป่าในวันอาทิตย์ที่ 30 กรกฎาคม 2560 ณ ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ติดตามรายละเอียดได้ที่ http://khaoyaimarathon.com/ http://www.khaoyainationalpark.com
ทางลัด
ประเภท
ตำแหน่งใกล้เคียง บริการภาครัฐ
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 61 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุ
-
ชั้น 1 อาคารเต็ม สมิตินันท์ เลขที่ 61 พหลโยธิน ลาดยาว จตุจักร
-
ถนน พหลโยธิน ชั้น 3-5 อาคารปลอดประสพ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์
-
Paholyotihn Road
-
ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร
-
ถนนพหลโยธิน
-
สถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย
-
ถนนพหลโยธิน
-
แขวงลาดยาว เขตจัตุจักร
-
เกษตรกลาง ซอยพหลโยธิน แขวงลาดยาว จตุจักร
-
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมการข้าว
-
กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร
-
เขตจตุจักร
-
เกษตรกลาง กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง กรมประมง
องค์กรของรัฐ อื่นๆใน Bangkok
-
Administrative Court of Thailand
Moo3 Chaeng Watthana Road -
Ngam Wong Wan Road
-
Southeast Asian Ministers of Education Organi
Sukhumvit Road -
กรมสรรพสามิต :: Excise Department
ถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ -
ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน
-
โรงพยาบาลศิริราช
-
ITD - International Institute for Trade and D
ชั้น 8 อาคารวิทยพัฒนา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาซอย 12 ถนนพญาไท กรุงเทพฯ -
TICA - Thailand Incentive and Convention Asso
The Legacy Viphawadi -
Dinso Road Phra Nakhon Dist
-
Pathumwan
-
10100
ความคิดเห็น
เพื่อพัฒนาระบบนิเวศในทะเล (แหล่งทรัพยากรณ์-การท่องเที่ยวไทยที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์)
และยังช่วยลดมลภาวะดูดซับคาร์บอนและเพิ่มออกซิเจนในพื้นที่ทะเลไปอีกทาง!
.แชร์วนไปค่ะ.