
20/03/2023
Photos from กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน's post
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
เปิดเหมือนปกติ
Photos from กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน's post
ลูกจ้างเกษียณอายุได้รับค่าชดเชยแล้ว นายจ้างขอทําสัญญาจ้างต่อและเลิก
จ้างภายหลัง ลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าชดเชยหรือไม่ ?
.
คําตอบคือ กรณีนายจ้างจ้างลูกจ้างในตําแหน่งที่ปรึกษา แม้ว่างานที่ทําไม่มี
ลักษณะเหมือนเดิมทั้งหมด แต่งานที่ทําก่อนเกษียณและหลังเกษียณเป็นงาน
ปกติของธุรกิจของนายจ้าง จึงไม่ใช่งานอันมีลักษณะเป็นครั้งคราวที่มี
กําหนดการสิ้นสุดหรือความสําเร็จของงานที่จะเข้าข้อยกเว้นให้นายจ้างไม่ต้อง
จ่ายค่าชดเชย ลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าชดเชย
.
.
ขอคําปรึกษากรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานได้ในช่องทางต่อไปนี้
– สายด่วน 1546 หรือ 1506 กด 3
– Line OA :
– FB : กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
#กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
#นายจ้างลูกจ้าง
#พัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน
คุยเฟื่องเรื่องแรงงาน Ep.42
Photos from กองความปลอดภัยแรงงาน's post
ลูกจ้างขับโฟล์คลิฟต์ไปเฉี่ยวชนพนักงานในโรงงาน นายจ้างต้องร่วม
รับผิดชอบด้วยหรือไม่ ?
.
คําตอบคือ นายจ้างต้องร่วมรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้กับลูกจ้างที่ได้รับบาดเจ็บ
ด้วย เพราะลูกจ้างได้กระทําไปในทางการที่จ้างโดยชอบด้วยกฎหมาย แม้การ
เกิดอุบัติเหตุดังกล่าว จะเกิดจากความประมาทเลินเล่อของลูกจ้างเองก็ตาม
.
.
ขอคําปรึกษากรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานได้ในช่องทางต่อไปนี้
– สายด่วน 1546 หรือ 1506 กด 3
– Line OA :
– FB : กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
#กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
#นายจ้างลูกจ้าง
#พัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน
ค่าล่วงเวลาที่เหมาจ่ายไปกับค่าจ้าง ขัดกฎหมายหรือไม่ ?
.
คําตอบคือ ขัดต่อกฎหมาย เนื่องจากข้อตกลงรวมค่ล่วงเวลาเหมาจ่ายไปกับค่า
จ้าง โดยไม่มีการคิดค่าล่วงเวลาที่ทําจริงเป็นการเอาเปรียบลูกจ้าง ถือเป็นโมฆะ
ไม่สามารถบังคับใช้ได้ลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลาตามที่กฎหมายกําหนด
.
.
ขอคําปรึกษากรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานได้ในช่องทางต่อไปนี้
– สายด่วน 1546 หรือ 1506 กด 3
– Line OA :
– FB : กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
#กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
#นายจ้างลูกจ้าง
#พัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน
Photos from กองความปลอดภัยแรงงาน's post
Photos from กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน's post
สเตตัสบ่เคยเปลี่ยน - ไมค์ ภิรมย์พร【MUSIC VIDEO】
มิวสิกวิดีโอเพลงนี้ได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่าย ต้องขอขอบคุณ- กระทรวงการต่างประเทศ- กระทรวงแรงงาน- สถานเ.....
Photos from กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน's post
ข่าวประชาสัมพันธ์ วันที่ 12 มีนาคม 2566 นางสาวนภัสกร กองเกตุ ผู้อำนวยการศูนย์ความปลอดภัยในการทำงานเขต 10 (สมุทรปราการ) ให้การต้อนรับนายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และนายนิยม สองแก้ว อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ในงานประชุมใหญ่สามัญประจำปี สหภาพแรงงานอีทีเอ ครั้งที่ 27/2566
ตอนที่ 73 เกร็ดความรู้คู่แรงงาน
📚 เกร็ดความรู้คู่แรงงาน
นายจ้างสั่งย้ายที่ทำงาน ห่างออกไปจากเดิม 120 กม. โดยไม่จัดที่พักหรือจัดรถให้ ลูกจ้างสามารถปฏิเสธคำสั่งนายจ้างได้หรือไม่?
⚖️ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 166-167/2546
โจทก์ทั้งสองฟ้องว่า โจทก์ที่ 1 ตำแหน่งพนักงานฝ่ายขายต่างจังหวัด โจทก์ที่ 2 ตำแหน่งพนักงานขับรถฝ่ายขายต่างจังหวัด ศาลแรงงานกลางฟังข้อเท็จจริงว่า ก่อนที่จำเลยจะมีคำสั่งย้ายโจทก์ทั้งสองไปทำงานที่โรงงานผลิตและจำหน่ายสินค้าที่อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี นั้น โจทก์ทั้งสองทำงานอยู่ที่สำนักงานของจำเลยซึ่งอยู่ที่ถนนสุขสวัสดิ์ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร โรงงานผลิตและจำหน่ายสินค้าที่อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี ของจำเลยอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 120 กิโลเมตร ไม่มีที่พักให้แก่พนักงาน เดิมเคยมีรถรับส่งพนักงานจากสำนักงานที่ถนนสุขสวัสดิ์ไปที่อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี แต่ปัจจุบันไม่มี และโจทก์ทั้งสองไม่มีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน พิเคราะห์แล้วเห็นว่า แม้สิทธิในการย้ายตำแหน่งหน้าที่การงานพนักงาน (ลูกจ้าง) ของจำเลยซึ่งโดยปกติแล้วจำเลยในฐานะนายจ้างสามารถกระทำได้ตามความเหมาะสมเพราะเป็นอำนาจในการบริหารจัดการภายในองค์กรของจำเลยก็ตาม แต่การที่จำเลยมีคำสั่งย้ายโจทก์ทั้งสองซึ่งมีรายได้น้อยให้ไปทำงานที่โรงงานผลิตและจำหน่ายสินค้าที่อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี
ห่างจากสถานที่ทำงานเดิมถึง 120 กิโลเมตร โดยจำเลยไม่จัดที่พักหรือจัดหารถรับส่งในการไปทำงานให้อีกทั้งโจทก์ทั้งสองก็ไม่สามารถเบิกค่าเช่าบ้านได้ คำสั่งของจำเลยดังกล่าวเป็นการเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายและก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่โจทก์ทั้งสองเป็นอย่างยิ่ง ยากที่โจทก์ทั้งสองซึ่งมีรายได้น้อยอยู่แล้วจะปฏิบัติตามคำสั่งของจำเลยได้ จึงมีลักษณะเป็นการกลั่นแกล้งโจทก์ทั้งสอง คำสั่งของจำเลยดังกล่าวแม้จะชอบด้วยกฎหมายแต่เป็นคำสั่งที่ไม่เป็นธรรม การที่โจทก์ทั้งสองไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของจำเลยจึงยังถือไม่ได้ว่าโจทก์ทั้งสองจงใจขัดคำสั่งของจำเลยและละทิ้งหน้าที่ตามที่จำเลยกล่าวอ้าง และแม้คำสั่งของจำเลยจะเป็นคำสั่งที่ไม่เป็นธรรม แต่ข้อเท็จจริงก็ไม่ปรากฏอย่างชัดแจ้งว่าจำเลยได้ออกคำสั่งย้ายดังกล่าวโดยเจตนาที่จะไม่ให้โจทก์ทั้งสองทำงานต่อไปและไม่จ่ายค่าจ้างให้ จึงยังถือไม่ได้ว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์ทั้งสองโดยปริยายตามที่โจทก์ทั้งสองอ้างในฟ้อง เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าขณะที่โจทก์ทั้งสองฟ้องคดีนี้ (วันที่ 12 และ 13 กันยายน 2543) จำเลยยังไม่ได้เลิกจ้างโจทก์ทั้งสอง จำเลยเพิ่งจะมีคำสั่งเลิกจ้างโจทก์ทั้งสองเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2543 ฉะนั้นขณะที่โจทก์ทั้งสองฟ้องคดีนี้จึงยังไม่มีข้อพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามกฎหมายเรื่องที่จำเลยเลิกจ้างโจทก์ทั้งสอง โจทก์ทั้งสองจึงไม่มีอำนาจฟ้อง แม้จำเลยจะมิได้ยกปัญหาดังกล่าวขึ้นอ้างในอุทธรณ์ก็ตาม แต่อำนาจฟ้องเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนศาลฎีกายกขึ้นวินิจฉัยได้ พิพากษากลับ ให้ยกฟ้องโจทก์ทั้งสอง
---------------------------------------
#กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
#กสร
#กสรคุ้มครองสิทธิพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน
Photos from กองความปลอดภัยแรงงาน's post
กฎหมายแรงงานพื้นฐาน สำหรับนักเรียน นักศึกษา EP. 5
บรรยายโดย นายเชิดศักดิ์ กำปั่นทอง (ผู้อำนวยการกลุ่มงานที่ปรึกษากฎหมาย นิติกรรมและสัญญา)
"สตรีเป็นพลังที่สำคัญ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ"
วันสตรีสากล 8 มีนาคม 2566
https://www.labour.go.th/index.php/66911-8-2582
-----------------------
🌐 Website: labour.go.th
👍 Facebook/Twitter/YouTube
: กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
☎️ Hotline: 1546 หรือ 1506 กด 3
📲 Line:
Photos from กองความปลอดภัยแรงงาน's post
Photos from กองความปลอดภัยแรงงาน's post
คุยเฟื่องเรื่องแรงงาน Ep.40
ตอนที่ 72 เกร็ดความรู้คู่แรงงาน
📚 เกร็ดความรู้คู่แรงงาน
นายจ้างบอกเลิกจ้างก่อนกำหนดระยะเวลาที่ตกลงกันไว้ โดยลูกจ้างไม่มีความผิดและไม่มีการบอกกล่าวล่วงหน้าตามกฎหมาย ลูกจ้างสามารถเรียกร้องค่าชดเชย ค่าเสียหาย อะไรได้บ้าง?
⚖️ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6844/2548
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยจ้างโจทก์เข้าทำงานเป็นลูกจ้างในตำแหน่งวิศวกรชั่วคราว มีกำหนดระยะเวลาจ้าง 1 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2546 ถึงวันที่ 19 มกราคม 2547 ต่อมาวันที่ 21 เมษายน 2546 จำเลยได้มีหนังสือบอกเลิกจ้างโจทก์โดยโจทก์ไม่มีความผิดและไม่มีการบอกกล่าวล่วงหน้าตามกฎหมาย การกระทำของจำเลยทำให้โจทก์ได้รับความเสียหายและหากมีการทำงานจนครบกำหนดตามสัญญา 1 ปี โจทก์มีสิทธิได้รับค่าชดเชยเป็นค่าจ้างเดือนสุดท้ายอีก 90 วัน ศาลแรงงานกลางพิพากษา ให้จำเลยชำระสินจ้างแทนการบอกกล่วงล่วงหน้า ค่าเสียหายจากการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม 19,000 บาท และค่าล่วงเวลาค้างจ่าย ค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปี พร้อมด้วยดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ของต้นเงินดังกล่าว นับแต่วันฟ้องเป็นต้นไปจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ แต่ยกฟ้องกรณีค่าชดเชย
โจทก์อุทธรณ์ ศาลฎีกาเห็นว่า โจทก์มีระยะเวลาทำงานกับจำเลยเพียง 3 เดือนเศษ ที่โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยจ่ายค่าชดเชยให้โจทก์ในค่าจ้างอัตราสุดท้ายเป็นเวลา 90 วัน โดยอ้างว่าหากโจทก์ทำงานกับจำเลยครบระยะเวลา 1 ปี ตามสัญญาแล้ว โจทก์มีสิทธิจะได้รับค่าชดเชยจำนวนดังกล่าวนั้น ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 118 บัญญัติว่า “ให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึ่งเลิกจ้างดังต่อไปนี้ (1) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบหนึ่งร้อยยี่สิบวันแต่ไม่ครบหนึ่งปีให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายสามสิบวัน... (2) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบหนึ่งปี แต่ไม่ครบสามปีให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายเก้าสิบวัน...” นั้น ตามบทบัญญัติดังกล่าวย่อมหมายความว่า จะต้องเป็นกรณีลูกจ้างที่ได้ทำงานจริงและมีระยะเวลาติดต่อกันครบตามที่กฎหมายกำหนดไว้ด้วย หาใช่เอาระยะเวลาจ้างตามสัญญาจ้างมากำหนดว่าหากโจทก์ทำงานครบเวลาตามสัญญาจ้างแล้วโจทก์มีสิทธิจะได้รับค่าชดเชยมากำหนดไม่ เมื่อโจทก์ทำงานกับจำเลยได้เพียง 3 เดือนเศษ ย่อมไม่มีสิทธิจะได้รับค่าชดเชยตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าว พิพากษายืน
---------------------------------------
#กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
#กสร
#กสรคุ้มครองสิทธิพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน
Photos from กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน's post
Photos from กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน's post
Photos from กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน's post
Photos from กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน's post
2 มีนาคม
วันมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ
🔵NBT มีคำตอบ ( 1 มี.ค.66) 👉 กดช่อง 2 NBT 🔴 Facebook Live : LiveNBT2HD ีคำตอบ #กรมประชาสัมพันธ์
🔴 ขอเชิญรับชมการให้สัมภาษณ์สดในรายการ “NBT มีคำตอบ”
โดย นางสาวกาญจนา พูลแก้ว รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.)
📌 ประเด็น “แรงงานสตรี สร้างความเสมอภาคและการทำงานที่มีคุณค่า”
ทางช่อง NBT 2HD ในวันพุธที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 15.05 - 16.00 น.
[ อัพเดทกฎหมายใหม่ !! ] ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักสูตรการฝึกอบรม คุณสมบัติวิทยากร และการดำเนินการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างานและระดับบริหาร ดาวน์โหลดประกาศได้ที่https://ratchakitcha.soc.go.th/documents/140D046S0000000003200.pdf
การพัฒนาองค์ความรู้และเสริมสร้างวิสัยทัศน์ให้กับคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน อนุกรรมการ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 วันที่ 28 กุมภาพันธ์ - 2 มีนาคม 2566 ณ
📣 ขอเชิญรับชม Live สด ตอบปัญหาแรงงาน
🕒 พบกันทุกวันอังคาร เวลา 15.00 น.
ทางช่อง Youtube กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
🌟มีปัญหาเกี่ยวกับการทำงาน
ฝากคำถามไว้ได้เลยนะคะ
------------------------------------
🌐 Website: labour.go.th
👍 Facebook/Twitter/YouTube
: กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
☎️ Hotline: 1546 หรือ 1506 กด 3
📲 Line:
"กสร.ชาแนล เปิดดูเมื่อไหร่ก็มีเรื่องใหม่ให้ชม"
Photos from กองความปลอดภัยแรงงาน's post
คุยเฟื่องเรื่องแรงงาน Ep.39
Photos from กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน's post
1636 ม. 4 ถ. เทพารักษ์ ต. เทพารักษ์
Bangkok
10270
จันทร์ | 08:30 - 16:30 |
อังคาร | 08:30 - 16:30 |
พุธ | 08:30 - 16:30 |
พฤหัสบดี | 08:30 - 16:30 |
ศุกร์ | 08:30 - 16:30 |
รับทราบข่าวสารและโปรโมชั่นของ ศูนย์ความปลอดภัยในการทำงานผ่านทางอีเมล์ของคุณ เราจะเก็บข้อมูลของคุณเป็นความลับ คุณสามารถกดยกเลิกการติดตามได้ตลอดเวลา
ส่งข้อความของคุณถึง ศูนย์ความปลอดภัยในการทำงาน:
กสร. เตือนสถานประกอบกิจการระวังไฟไหม้ช่วงลอยกระทง ออกอากาศ วันอังคารที่ 20 พ.ย. 2561 สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ออกประกาศขอความร่วมมือช่วยเหลือลูกจ้างที่ได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ
Administrative Court of Thailand
Moo3 Chaeng Watthana RoadSoutheast Asian Ministers of Education Organi
Sukhumvit Roadกรมสรรพสามิต :: Excise Department
ถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯITD - International Institute for Trade and D
ชั้น 8 อาคารวิทยพัฒนา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาซอย 12 ถนนพญาไท กรุงเทพฯTICA - Thailand Incentive and Convention Asso
The Legacy Viphawadi