กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดสมุทรสาคร

กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดสมุทรสาคร ข้อมูลการติดต่อ, แผนที่และเส้นทาง,แบบฟอร์มการติดต่อ,เวลาเปิดและปิด, การบริการ,การให้คะแนนความพอใจในการบริการ,รูปภาพทั้งหมด,วิดีโอทั้งหมดและข่าวสารจาก กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดสมุทรสาคร, หน่วยงานราชการ, Samut Sakhon.

ข่าวประชาสัมพันธ์กลุ่มอารักขาพืชประจำวันที่ 15 สิงหาคม 2566 ค่ะ
15/08/2023

ข่าวประชาสัมพันธ์กลุ่มอารักขาพืช
ประจำวันที่ 15 สิงหาคม 2566 ค่ะ

29/06/2023
ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนมิถุนายน 2566 ได้แก่ 1.ทากในกล้วยไม้ 2.โรคแอนแทรคโนสในพริก 3.โรคราน้ำฝนในลำไย 4.หนอนเ...
06/06/2023

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนมิถุนายน 2566 ได้แก่
1.ทากในกล้วยไม้
2.โรคแอนแทรคโนสในพริก
3.โรคราน้ำฝนในลำไย
4.หนอนเจาะผลส้มโอ
#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

มาเรียนรู้เรื่องการใช้สารเคมีในการกำจัดเพลี้ยไฟอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม กันค่ะ✌️
05/06/2023

มาเรียนรู้เรื่องการใช้สารเคมีในการกำจัดเพลี้ยไฟอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม กันค่ะ✌️

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนพฤษภาคม 2566 ได้แก่ 1.มวนลำไย 2.ไรแดงแอฟริกันในพืชตระกูลส้ม 3.เพลี้ยแป้งในมะละกอ 4.เพ...
01/05/2023

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนพฤษภาคม 2566 ได้แก่
1.มวนลำไย
2.ไรแดงแอฟริกันในพืชตระกูลส้ม
3.เพลี้ยแป้งในมะละกอ
4.เพลี้ยไฟพริก ศัตรูมะนาว
#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนเมษายน 2566 ได้แก่ 1.แมลงค่อมทอง 2.เพลี้ยไก่แจ้ส้ม 3.แมลงหวี่ขาว 4.เพลี้ยแป้งในฝรั่ง ...
04/04/2023

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนเมษายน 2566 ได้แก่
1.แมลงค่อมทอง
2.เพลี้ยไก่แจ้ส้ม
3.แมลงหวี่ขาว
4.เพลี้ยแป้งในฝรั่ง
#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

มารู้จัก ✨️การควบคุมศัตรูพืช ด้วยหลักการผสมผสานกันจ้า😆✨️
20/03/2023

มารู้จัก ✨️การควบคุมศัตรูพืช ด้วยหลักการผสมผสานกันจ้า😆✨️

การถ่ายทอดความรู้ด้วยกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร >> เกษตรกรเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ >>เพื่อให้เกษตรกรเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได...
07/03/2023

การถ่ายทอดความรู้ด้วยกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร >> เกษตรกรเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ >>เพื่อให้เกษตรกรเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนมีนาคม 2566 ได้แก่ 1.ด้วงงวงมะพร้าว 2.เพลี้ยไฟ 3.โรคแอนแทรคโนสในมะม่วง 4.หนอนกินจั่นม...
02/03/2023

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนมีนาคม 2566 ได้แก่
1.ด้วงงวงมะพร้าว
2.เพลี้ยไฟ
3.โรคแอนแทรคโนสในมะม่วง
4.หนอนกินจั่นมะพร้าว
#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

เกษตรกรยุคใหม่ ร่วมใจหยุดเผา ✌️
10/02/2023

เกษตรกรยุคใหม่ ร่วมใจหยุดเผา ✌️

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566 ได้แก่ 1.หนอนชอนใบในมะนาว 2.เพลี้ยไฟพริกในมะม่วง 3.ด้วงกรีดใบมะม่วง 4...
01/02/2023

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566 ได้แก่
1.หนอนชอนใบในมะนาว
2.เพลี้ยไฟพริกในมะม่วง
3.ด้วงกรีดใบมะม่วง
4.โรคราน้ำค้างในพืชตระกูลแตง
5.เพลี้ยจั๊กจั่นในมะม่วง

#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

28/01/2023

🎯 กรมส่งเสริมการเกษตร ขอเชิญชวนที่ปรึกษากลุ่มยุวเกษตรกร สมาชิกกลุ่มยุวเกษตรกร เกษตรกรรุ่นใหม่ และ/หรือ Young Smart Farmer เจ้าหน้าที่ในสังกัดกรมส่งเสริมการเกษตร ที่มีอายุระหว่าง 20 – 45 ปี สมัครเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนยุวเกษตรกรไทยกับประเทศญี่ปุ่น ประจำปี 2566 ตั้งแต่บัดนี้ จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566

✅ การสมัคร
สามารถ download ใบสมัครได้ที่ https://drive.google.com/drive/folders/1NuKobvnbVr0Ien5WuG2l8m7Qw6QVwLCg?usp=share_link หรือ ขอรับใบสมัครได้ที่สำนักงานเกษตรอำเภอ และส่งใบสมัครได้ที่สำนักงานเกษตรจังหวัดทั่วประเทศ

📱สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กลุ่มพัฒนายุวเกษตรกร กองพัฒนาเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร โทรศัพท์หมายเลข 0 2561 4793 ในวันและเวลาราชการ

👍
24/01/2023

👍

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนมกราคม 2566 ได้แก่ 1.หนอนบุ้ง 2.หนอนร่านพาราซ่า 3.เพลี้ยแป้งในลำไย 4.โรคราดำในลำไย #ศ...
05/01/2023

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนมกราคม 2566 ได้แก่
1.หนอนบุ้ง
2.หนอนร่านพาราซ่า
3.เพลี้ยแป้งในลำไย
4.โรคราดำในลำไย
#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

👇
16/12/2022

👇

📌ใหม่ ! แผ่นพับความรู้ทางการเกษตร ช่วยแนะนำวิธีการฟื้นฟูและดูแลพื้นที่ทางการเกษตรหลังน้ำท่วม
เรื่องที่ 1 การฟื้นฟูแปลงและการปลูกผักหลังน้ำลด
เรื่องที่ 2 การฟื้นฟูไม้ผลหลังน้ำลด
เรื่องที่ 3 การใช้ชีวภัณฑ์และสารธรรมชาติจากพืชควบคุมศัตรูพืชหลังน้ำลด
เรื่องที่ 4 การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
เรื่องที่ 5 การเพาะผักงอกหลังน้ำลด
👇👇👇
ดาวน์โหลดแผ่นพับทั้ง 5 เรื่อง ได้ที่ : https://www.doae.go.th/คลังความรู้/
#คลังความรู้DOAE #เกษตรร่วมใจช่วยภัยน้ำท่วม

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนันวาคม 2565 ได้แก่ 1.หนอนหัวดำมะพร้าว 2.แมลงดำหนามมะพร้าว 3.รากเน่าโคนเน่าในลำไย 4.เพ...
02/12/2022

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนันวาคม 2565 ได้แก่
1.หนอนหัวดำมะพร้าว
2.แมลงดำหนามมะพร้าว
3.รากเน่าโคนเน่าในลำไย
4.เพลี้ยจั๊กจั่นมะม่วง
#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

เชื้อราไตรโคเดอร์มา เชื้อจุลินทรีย์ป้องกันโรคพืชจากเชื้อราสารพัดประโยชน์  มีวิธีการผลิตที่ง่าย ทำได้ด้วยตัวเองที่บ้าน*ทั...
22/11/2022

เชื้อราไตรโคเดอร์มา เชื้อจุลินทรีย์ป้องกันโรคพืชจากเชื้อราสารพัดประโยชน์ มีวิธีการผลิตที่ง่าย ทำได้ด้วยตัวเองที่บ้าน
*ทั้งนี้วิธ๊การผลิตอาจมีการปรับตามความเหมาะสมภายใต้การผลิตที่สะอาดตามมาตรฐานเพื่อลดการปนเปื้อน

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนพฤศจิกายน 2565 ได้แก่ 1.โรคราสีชมพูในพืชตระกูลส้ม 2.โรคเหี่ยวเขียวในมะเขือเทศ 3.โรคใบ...
02/11/2022

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนพฤศจิกายน 2565 ได้แก่
1.โรคราสีชมพูในพืชตระกูลส้ม
2.โรคเหี่ยวเขียวในมะเขือเทศ
3.โรคใบจุดดำในลำไย
4.เพลี้ยไฟพริก
#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

14/10/2022
09/10/2022

#บทเรียนที่15 เคล็ดลับการใข้ไกลโฟเซต🐣🐣

🧑‍🌾เรื่องง่ายๆ..ที่หลายคนมองข้ามในการใช้ไกลโฟเซต ส่งผลให้.วัชพืชตายบ้างหรือไม่ตายบ้าง เมื่อวัชพืชไม่ตายก็ต้องพ่นซ้ำทำให้เสียเวลาและเสียเงินโดยใช่เหตุ♨️

🎯เคล็ดลับในการใช้ไกลโฟเซค ให้ได้ผลดี คือ

🌱1. วัชพืชตั้งอยู่ในระยะเจริญเติบโตมีพื้นที่ใบสีเขียว ที่จะให้ละอองไกลโฟเซตเกาะที่ใบมากพอที่จะเข้าสู่ต้นพืช

หากมีพื้นที่ใบน้อยเกินไป โอกาสที่ไกลโฟเซตจะเกาะที่ใบพืชมีน้อยมาก ส่วนใหญ่จะตกสู่ผิวดินและถูกอนุภาคดินดูดยึดไว้ ทำให้หมดฤทธิ์ในการกำจัดวัชพืช

🍂กรณีวัชพืชแก่เกินไป ให้ตัด หญ้าก่อนและรอให้วัชพืชแตกใบใหม่ขึ้นมาเล็กน้อยก่อน🌿จึงพ่นไกลโฟเซต

🌦️2. สภาพแวดล้อมมีผลต่อประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอุณหภูมิ และความชื้นในดิน

ไม่ควรพ่นไกลโฟเซตในขณะที่ต้นวัชพืชเหี่ยวเพราะขาดน้ำ หรือมีน้ำขัง เพราะไกลโฟเซตจะไม่สามารถดูดซึมและเคลื่อนย้ายในต้นพืชได้

☀️ในสภาพแดดร้อนจัด อุณหภูมิที่แผ่นใบสูงมาก ทำให้ละอองสารระเหยไปในอากาศหมดก่อนที่จะซึมเข้าสู่ต้นพืช เปรียบเหมือนแผ่นสังกะสีที่ตากแดดจนร้อนจัด🌡️เมื่อพ่นละอองน้ำลงไป น้ำระเหยไปอย่างรวดเร็ว

❄️3. ไม่ควรพ่นไกลโฟเซต ในช่วงเช้าเกินไปก็จะมีน้ำค้างเกาะอยู่บนใบจำนวนมาก เมื่อพ่นใน
ขณะที่ใบเปียก ละอองสารจะไหลจากใบพืชตกลงสู่ดินหมด

ในกรณีที่มีฝุ่นเกาะบนใบหนามาก เมื่อพ่นไกลโฟเซตลงไป จะถูกอนุภาคดินในฝุ่น ดูดยึดไว้ทำให้เสื่อมฤทธิ์ในการกำจัดวัชพืช

💧4. น้ำที่ใช้ผสมไกลโฟเซต ต้องเป็นน้ำสะอาด ไม่ขุ่นด้วยตะกอนดิน และไม่ใช่น้ำกระด้าง

ตะกอนดินที่แขวนลอยอยู่ในน้ำจะดูดยึด ไกลโฟเซต ไว้ทำให้เสื่อมฤทธิ์

ส่วนน้ำกระด้างหรือน้ำที่มีความเป็นด่างสูง จะมีธาตุแคลเซียมแมกนีเซียมในน้ำเป็นจำนวนมาก ธาตุเหล่านี้จะทำปฏิกิริยากับไกลโฟเซตทำให้สารเสื่อมฤทธิ์

วิธีแก้..หากจำเป็นต้องใช้น้ำกระด้าง คือ ใส่แอมโมเนียมซัลเฟต ผสมในน้ำเพื่อให้ แคลเซียมแมกนีเซียมทำปฏิกิริยากับแอมโมเนียมซัลเฟตก่อน โดยผสมทิ้งไว้ 15 นาที ก่อนใช้ผสมไกลโฟเซต

🙋5. เลือกอัตราการใช้สารให้เหมาะสมกับชนิดของวัชพืช กรณีวัชพืชอายุปีเดียวให้ใช้อัตราต่ำ 300-500 มล.ต่อไร่และพ่นเมื่อวัชพืชสูง5-15 ซม. หากพ่นไกลโฟเซตเมื่อวัชพืชมีต้นสูงเหรือหนาแน่นกินไป ทำให้ต้องใช้อัตราสูงขึ้นและวัชพืชอาจได้รับสารไม่ทั่วถึง ต้องพ่นซ้ำเพราะตายไม่สนิท

ส่วนวัชพืชข้ามปี ต้องใช้ในอัตราสูง1,000 มล. ต่อไร่ เพื่อให้ไกลโฟเซตมีปริมาณมากพอที่จะเคลื่อนย้ายลงไปกำจัดส่วนที่อยู่ใต้ดิน

☘️6. หลังจากผสมไกลโฟเซตลงไปในน้ำแล้ว จึงใส่สารจับใบ เป็นลำดับสุดท้าย และควรเลือกสารจับใบที่ไม่มีประจุ เพื่อไม่ให้ไปทำปฏิกิริยากับไกลโฟเซต

☘️สารจับใบ..จะทำหน้าที่ให้ละอองสารสัมผัสผิวใบมากขึ้น สารจึงถูกดูดซึมเข้าสู่ต้นพืชได้อย่างรวดเร็ว ส่วนใหญ่สารจับใบจะผสมอยู่ในผลิตภัณฑ์ แต่อาจมีบางยี่ห้อที่ไม่ได้ใส่สารจับใบ อาจสังเกตได้จากราคาที่มีความแตกต่างกัน

อย่างไรก็ตาม หากเกษตรกรผสมแอมโมเนียมซัลเฟตไปในน้ำก่อนแล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องผสมสารจับใบอีก เพราะมีรายงานวิจัยว่า แอมโมเนียมซัลเฟตช่วยในการดูดซึมและเคลื่อนย้ายไกลโฟเซตให้ดีขึ้นอยู่แล้ว

🎊7. เลือกใช้หัวฉีด แบบหัวผ่า หรือ หัวปะทะ ที่พ่นละอองสารออกมาเป็นรูปพัด

🌨️8. ก่อนพ่นต้องแน่ใจว่าจะไม่มีฝนตกหลังพ่นอย่างน้อย 4-6 ชั่วโมง

9. หากต้องการไถพรวนดินหลังพ่นกำจัดวัชพืชแล้ว ควรเว้นระยะหลังพ่นอย่างน้อย 7-10 วันสำหรับวัชพืชที่งอกจากเมล็ด และเว้นระยะอย่างน้อย 15-20 วัน สำหรับวัชพืขข้ามปีเช่นแห้วหมู หรือ หญ้าคา

💯เพียงเท่านี้...การใช้ไกลโฟเซตกำจัดวัชพืชก็ไม่ใช่เรื่องยุ่งยากและสิ้นเปลืองอีกต่อไป😁

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนตุลาคม 2565 ได้แก่ 1.โรคเน่าคอดินในพืชตระกูลกระหล่ำ 2.เพลี้ยแป้งในมะละกอ 3.โรคแคงเกอร...
04/10/2022

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนตุลาคม 2565 ได้แก่
1.โรคเน่าคอดินในพืชตระกูลกระหล่ำ
2.เพลี้ยแป้งในมะละกอ
3.โรคแคงเกอร์ในพืชตระกูลส้ม
4.แมลงหวี่ขาวยาสูบ
#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

04/10/2022
เอกสารคู่มือ “รู้จัก-รู้ใช้ชีวภัณฑ์กำจัดศัตรูพืช” จากกรมวิชาการเกษตรครับ
04/10/2022

เอกสารคู่มือ “รู้จัก-รู้ใช้ชีวภัณฑ์กำจัดศัตรูพืช” จากกรมวิชาการเกษตรครับ

19/09/2022
ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนกันยายน 2565 ได้แก่ 1.หอยทากบก 2.หนอนเจาะผลมะเขือในมะเขือ 3.โรคราสนิมขาวในผักบุ้งจีน4...
05/09/2022

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนกันยายน 2565 ได้แก่
1.หอยทากบก
2.หนอนเจาะผลมะเขือในมะเขือ
3.โรคราสนิมขาวในผักบุ้งจีน
4.หนอนบุ้ง
#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนสิงหาคม 2565 ได้แก่ 1.หนอนกระทู้ผัก 2.โรครากเน่าโคนเน่าในมะละกอ 3.โรคเหี่ยวกล้วยหรือโ...
03/08/2022

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนสิงหาคม 2565 ได้แก่
1.หนอนกระทู้ผัก
2.โรครากเน่าโคนเน่าในมะละกอ
3.โรคเหี่ยวกล้วยหรือโรคตายพราย
4.โรคเน่าดำหรือโรคเน่าเข้าไส้ในกล้วยไม้
#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนกรกฎาคม 2565 ได้แก่ 1.โรคจุดวงแหวนในมะละกอ 2.เพลี้ยไฟในมะม่วง3.แมลงดำหนามมะพร้าว4.โรค...
04/07/2022

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนกรกฎาคม 2565 ได้แก่
1.โรคจุดวงแหวนในมะละกอ
2.เพลี้ยไฟในมะม่วง
3.แมลงดำหนามมะพร้าว
4.โรคแคงเกอร์ในพืชตระกูลส้ม
#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

มะพร้าวน้ำหอม ทำไมน้ำไม่หอม มาดูคำตอบกันค่ะcr : กรมวิชาการเกษตร
28/06/2022

มะพร้าวน้ำหอม ทำไมน้ำไม่หอม มาดูคำตอบกันค่ะ
cr : กรมวิชาการเกษตร

มารู้จักกับศูนย์จัดการพืชชุมชน หรือ ศจช. กันค่ะ
16/06/2022

มารู้จักกับศูนย์จัดการพืชชุมชน หรือ ศจช. กันค่ะ

วิธีปลูกและดูแลรักษาพืชผักในฤดูฝนCr : กรมส่งเสริมการเกษตร
10/06/2022

วิธีปลูกและดูแลรักษาพืชผักในฤดูฝน
Cr : กรมส่งเสริมการเกษตร

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนมิถุนายน 2565 ได้แก่ 1.ราน้ำฝนในลำไย 2.โรคดอกสนิมหรือจุดสนิมในกล้วยไม้ 3.ด้วงงวงเจาะต...
02/06/2022

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนมิถุนายน 2565 ได้แก่
1.ราน้ำฝนในลำไย
2.โรคดอกสนิมหรือจุดสนิมในกล้วยไม้
3.ด้วงงวงเจาะต้นกล้วย
4.ผีเสื้อมวนหวานในพืชตระกูลส้ม
#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนพฤษภาคม 2565 ได้แก่ 1.เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล 2.ไรสี่ขามะพร้าว 3.โรคราสนิมขาวในผักบุ้งจี...
02/05/2022

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนพฤษภาคม 2565 ได้แก่
1.เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
2.ไรสี่ขามะพร้าว
3.โรคราสนิมขาวในผักบุ้งจีน
4.เพลี้ยไฟ
#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนเมษายน 2565 ได้แก่ 1.หนอนหัวดำมะพร้าว2.โรครากเน่าโคนเน่าในพริก 3.แมลงหวี่ขาวยาสูบในมะ...
01/04/2022

ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืชประจำเดือนเมษายน 2565 ได้แก่
1.หนอนหัวดำมะพร้าว
2.โรครากเน่าโคนเน่าในพริก
3.แมลงหวี่ขาวยาสูบในมะเขือเปราะ
4.โรคแอนแทรคโนสในองุ่น
#ศัตรูพืช #โรคพืช
เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

05/03/2022

หลักการใช้ "ปุ๋ยชีวภาพ" ให้มีประสิทธิภาพ

05/03/2022

ที่อยู่

Samut Sakhon
74000

เว็บไซต์

แจ้งเตือน

รับทราบข่าวสารและโปรโมชั่นของ กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดสมุทรสาครผ่านทางอีเมล์ของคุณ เราจะเก็บข้อมูลของคุณเป็นความลับ คุณสามารถกดยกเลิกการติดตามได้ตลอดเวลา

วิดีโอทั้งหมด

แชร์

ตำแหน่งใกล้เคียง บริการภาครัฐ


องค์กรของรัฐ อื่นๆใน Samut Sakhon

แสดงผลทั้งหมด

ความคิดเห็น

ข่าวขจร
 Get Link
#}