
ข้อมูลการติดต่อ, แผนที่และเส้นทาง,แบบฟอร์มการติดต่อ,เวลาเปิดและปิด, การบริการ,การให้คะแนนความพอใจในการบริการ,รูปภาพทั้งหมด,วิดีโอทั้งหมดและข่าวสารจาก สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สสวท., 924 ถนนสุขุมวิท พระโขนง คลองเตย, Bangkok.
เปิดเหมือนปกติ


12/04/2022

11/04/2022
🎊🎉🎊🎉 เชิญชวนใช้สื่อ “GeoGebra” ประกอบหนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ม.ปลาย สสวท. (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) 🤩🤩🤩
ใช้งานได้ #ฟรี 🤩🔎🔎เพียงสแกน QR Code ในภาพ
หรือผ่านหน้าเว็บ https://www.ipst.ac.th/knowledge/knowledge-article/article-math/22776/geogebra-2.html 📱💻
📌GeoGebra Institute of IPST Thailand 📌
#สสวท #สื่อเสริม #สื่อประกอบหนังสือเรียน #สื่อGeoGebra #หนังสือเรียน #คณิตศาสตร์ #มัธยมปลาย

09/04/2022
Photos from IPST Thailand's post

06/04/2022

02/04/2022
📣 กำหนดวันสอบและเปลี่ยนแปลงการสอบโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2564

02/04/2022

01/04/2022
📣📣📣 ประกาศผลการคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป GeoGebra ขั้นพื้นฐาน ในรูปแบบออนไลน์ รุ่นที่ 1
ทั้งนี้ ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกจะได้รับการประสานงานทางอีเมลที่ท่านได้ให้ข้อมูลไว้ในขั้นตอนการลงทะเบียน 📨
🚩 ผลการคัดเลือกของคณะทำงานถือเป็นอันสิ้นสุด
🚩 หากมีการอบรมในรุ่นถัดไป จะประชาสัมพันธ์ทางหน้าเพจ
(เวลา 13:32 น. ได้แก้ไขรูปภาพ เนื่องจากได้เรียงลำดับรายชื่อจาก ก - ฮ ใหม่)

31/03/2022

31/03/2022
#รู้หรือไม่ วันที่ 31 มีนาคม เป็นวันคล้ายวันเกิดของ René Descartes นักคณิตศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ และนักปราชญ์ชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ริเริ่มวิชาเรขาคณิตวิเคราะห์ ที่มีการเชื่อมโยงพีชคณิตและเรขาคณิตเข้าด้วยกัน โดย René Descartes ได้มุ่งศึกษาการลงจุดบนระบบพิกัดฉากแล้วหาสมการทางพีชคณิต
.
#เรขาคณิตวิเคราะห์ เป็นการเชื่อมโยงความรู้ระหว่างพีชคณิตและเรขาคณิตเข้าด้วยกัน ซึ่งการแก้ปัญหาทางพีชคณิตบางปัญหาอาจนำความรู้ทางเรขาคณิตมาช่วยแก้ปัญหา หรือการแก้ปัญหาทางเรขาคณิตบางปัญหาก็อาจนำความรู้ทางพีชคณิตมาช่วยแก้ปัญหา ซึ่งในปัจจุบันความรู้ทางเรขาคณิตวิเคราะห์ได้มีการศึกษาและพัฒนาขึ้นอย่างกว้างขวาง
.
ศึกษาประวัติของ René Descartes ได้ที่วีดิทัศน์ The Great Mathematicians: Descartes >> https://fb.watch/bV5cQSuuA_
.
เรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์
1) สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ Project 14 >> http://ipst.me/pr0048
2) หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ ม.4 เล่ม 2 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
3) เสริมศักยภาพคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์ http://bookstore.ipst.ac.th/ProductDetail?pid=155

30/03/2022
Photos from IPST Thailand's post

22/03/2022
😍🙏 ขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความสนใจสมัครเข้าร่วมอบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป GeoGebra ขั้นพื้นฐาน รุ่นที่ 1 ซึ่งปิดรับสมัครไปแล้วเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2565
🤩🤩 การอบรมนี้มีผู้ลงทะเบียนจำนวนกว่า 2,000 คน ขณะนี้คณะทำงานกำลังทำงานกันอย่างขะมักเขม้นในการพิจารณาข้อมูลของผู้สมัครทุกท่าน เพื่อคัดเลือกผู้ที่จะได้เข้าร่วมการอบรมในครั้งนี้ จำนวน 50 คน
📣📣 โดยผลการคัดเลือกจะประกาศอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 1 เมษายน 2565 ทางเพจเฟซบุ๊ก “สาขาคณิตศาสตร์ สสวท.” “IPST Thailand” และประสานแจ้งผู้ที่ผ่านการคัดเลือกทางอีเมลตามที่แจ้งไว้ในการลงทะเบียน
🥳🥳 รอติดตามผลกันนะคะ

15/03/2022
‼️📣 เนื่องจากการอบรมนี้มีผู้สนใจสมัครเกินจำนวนที่การอบรมกำหนดเป็นจำนวนมาก จึงขอปิดรับสมัครก่อนเวลาที่กำหนด โดยขอปิดรับสมัครในวันศุกร์ที่ 18 มีนาคม 2565 เวลา 12.00 น. 🕛
ทั้งนี้ คณะทำงานจะดำเนินการตรวจสอบและคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนเพื่อเข้าร่วมการอบรม โดยจะแจ้งรายชื่อผู้ผ่านการอบรมทางเพจเฟซบุ๊กสาขาวิชาคณิตศาสตร์ สสวท. และทางอีเมลของผู้ที่ผ่านการคัดเลือก
หมายเหตุ ผลการคัดเลือกของคณะทำงานถือเป็นอันสิ้นสุด 🚩

14/03/2022
📆 วันที่ 14 มีนาคมของทุกปี นับว่าเป็นวันพาย (Pi Day) เนื่องจาก π (Pi) มีค่าประมาณเป็น 3.14
💡 รู้หรือไม่ นักคณิตศาสตร์ตั้งแต่สมัยโบราณได้ศึกษาและสำรวจค่าประมาณของพายกันมานาน เช่น อาร์คิมีดีส แห่งไซราคิวส์ นักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ได้สำรวจและประมาณค่าพายมาได้กว่า 2,000 ปีแล้ว และนักคณิตศาสตร์ในโลกตะวันออกอย่างหลิวฮุย ก็ได้ประมาณค่าพายได้อย่างถูกต้องจนถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 6 มากว่า 1,800 ปี
📺 รับชมเกร็ดประวัตินักคณิตศาสตร์ได้ที่
อาร์คิมีดีส http://ipst.me/11507
หลิวฮุย http://ipst.me/12544

14/03/2022
14 มีนาคม = วันไพ (Pi Day)
.
π (Pi) ในทางคณิตศาสตร์มีค่าประมาณ 3.14 ดังนั้น ในทุกเดือนที่ 3 วันที่ 14 (14 มีนาคม) ของทุกปี จึงถูกกำหนดให้เป็นวันแห่งการเฉลิมฉลองค่า π
.
นอกจากนี้ วันที่ 14 มีนาคม ยังเป็นวันคล้ายวันเกิดของนักวิทยาศาสตร์คนสำคัญของโลกนามว่า อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) อีกด้วย
.
เรื่องของ π ยังมีอะไรที่น่าสนใจอีกมากมาย เพื่อน ๆ สามารถเรียนรู้กิจกรรม “การหาค่าประมาณของ π ด้วย GeoGebra” ได้ที่ goo.gl/6xnUw4
.
#วันไพ #วิทย์ที่คุณไม่รู้ #วิทยาน่ารู้ #14มีนาคม #สสวท

11/03/2022
📣📣 การอบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป GeoGebra ขั้นพื้นฐาน รุ่นที่ 1 โดย สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
การอบรมนี้เหมาะสำหรับใครบ้าง
👩🏫 เหมาะสำหรับ ครูผู้สอนหรือบุคลากรทางการศึกษาที่รับผิดชอบในการจัดการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ โดยยังไม่เคยผ่านการอบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป GeoGebra มาก่อน
การอบรมนี้อบรมอะไรบ้าง
📖 ผู้เข้ารับการอบรมจะได้รู้จักเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการเรียนรู้ในหัวข้อ เรขาคณิต พีชคณิต และสถิติ ที่มีในโปรแกรมสำเร็จรูป GeoGebra ขั้นพื้นฐาน และการประยุกต์ใช้ GeoGebra ในการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เบื้องต้น
การอบรมเป็นแบบไหน
💻 การอบรมดำเนินการในรูปแบบออนไลน์ และผู้เข้ารับการอบรมจะได้ฝึกปฏิบัติจริง
การอบรมมีช่วงไหน รับกี่คน
📆 อบรมในวันที่ 25 – 26 เมษายน 2565 โดยรับสมัครผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 50 คน
สนใจสมัครเข้ารับการอบรม ต้องทำอย่างไรบ้าง
📌 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2565 เวลา 09:00 น. ถึง 31 มีนาคม 2565 เวลา 16:00 น. โดยกรอกรายละเอียดที่ ipst.me/ggb2565-1 ทั้งนี้อาจปิดรับสมัครก่อนกำหนด หากมีผู้สมัครที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามจำนวน
มีปัญหา ข้อซักถาม สอบถามได้ที่ใด
📨 ส่งอีเมลแจ้งรายละเอียดปัญหาหรือข้อซักถามมาได้ที่ [email protected]
แล้วเรามาเจอกันนะ

03/03/2022
#ด่วนที่สุด ‼️ แจ้งเลื่อนการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2564
#ด่วนที่สุด !! แจ้งเลื่อนการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2564 ที่มีกำหนดการสอบคัดเลือกรอบที่ 1 ในวันที่ 5 มีนาคม 2565 ออกไปก่อน โดย สสวท. จะแจ้ง
● กำหนดการสอบ
● แนวทางการจัดสอบของโครงการฯ
ให้ทราบต่อไป
สำหรับการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เปลี่ยนแปลงรูปแบบการสอบเป็นแบบ ON-SITE ในวันเสาร์ที่ 19 มีนาคม 2565 ทั้งนี้ ขอให้นักเรียนติดตามรายละเอียดจัดสอบเพิ่มเติมจากประกาศของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และนักเรียนยังคงสามารถเข้าสอบคัดเลือกเข้าโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพฯ ปีการศึกษา 2564 ได้

03/03/2022
Photos from IPST Thailand's post

28/02/2022
📣📣 คู่มือครูรายวิชาคณิตศาสตร์ #สสวท. #แบบรูปเล่ม มีวางจำหน่ายแล้ว
🛎 📦 ตรวจสอบราคาและสั่งซื้อได้ที่ https://www.suksapanpanit.com/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD-%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B9%8C/%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B2%208%20%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0?page=2

23/02/2022
📣📣 การอบรมการใช้งานระบบสอบ 🔸โครงการ พสวท. และ 🔸โครงการอัจฉริยภาพฯ
📺 รับชมสดพร้อมกันวันนี้ (24 ก.พ. 2565) เวลา 19.00 - 20.00 น.
ทางเฟซบุ๊กแฟนเพจ 🔹 IPST Genius Project >> IPST Genius Project
และ 🔹 IPST Thailand >> www.facebook.com/IPSTthai
#สอบสสวท #ไลฟ์สด
สาวกพี่ตาแววทั้งหลายยยยย
สงสัยหรือไม่ 🤔 สอบ สสวท. ปีนี้ เป็นการสอบออนไลน์ต้องทำอย่างไร 🤔 เข้าสู่ระบบยังไง 🤔 ดูบัตรประจำตัวสอบได้ที่ไหน 🤔 ใช้อุปกรณ์กี่อย่าง อะไรบ้างฯลฯ
วันพรุ่งนี้ (24 ก.พ. 2565) เวลา 19.00 - 20.00 น. พี่ตาแววจะส่งทีมงานมาเล่าแจ้งแถลงไขถึงข้อสงสัยเหล่านี้ และการเตรียมพร้อมในการสอบ
😘 อัจฉริยภาพ สสวท. ในการทดสอบเสมือนจริง (26 ก.พ. 2565) และสอบจริง (5 มี.ค. 2565)
😘 พสวท. สอบจริง (27 ก.พ. 2565)
ห้ามพลาดกันนะคร้าบบบบ
#สอบสสวท. #สสวท. #พี่ตาแวว
#ห้ามพลาด #ไลฟ์สด
📺 รับชมสดพร้อมกันในวันพรุ่งนี้ (24 ก.พ. 2565) เวลา 19.00 - 20.00 น. ทาง Facebook: IPST Genius Project >> https://www.facebook.com/IpstGenius/ และ Facebook IPST Thailand

23/02/2022
📌 ประกาศรายชื่อผู้ที่ได้รับคัดเลือกเข้ารับการอบรมคัดเลือก ครั้งที่ 2 วิชาคณิตศาสตร์ ประจำปี พ.ศ. 2565

21/02/2022
#รู้หรือไม่ 22 กุมภาพันธ์ 2022 เป็นวันที่สามารถเขียนแทนด้วยตัวเลข “22022022” แล้วเป็น #พาลินโดรม และ #แอมบิแกรม
.
พาลินโดรม (Palindrome) คือ รูปแบบที่สามารถอ่านออกเสียงได้เหมือนกัน เมื่ออ่านจากซ้ายไปขวาและขวาไปซ้าย เช่น 454 1331 RADAR
.
แอมบิแกรม (Ambigram) คือ รูปแบบที่สามารถอ่านออกเสียงได้เหมือนกัน ทั้งแบบปกติและแบบกลับหัว เช่น 8008 XIX NOON
.
อ้างอิง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.4 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ ม.5 เล่ม 2 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
#22กุมภาพันธ์2022 #22กุมภาพันธ์

20/02/2022
🎯 รับสมัครคุณครูเข้าร่วมอบรมหลักสูตรวิทยาการคำนวณสำหรับครู (C4T) และวิทยาการคำนวณสำหรับครูขั้นสูง (C4T Plus) จำนวน 3 หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษา
หมดเขตรับสมัครภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 65
ปล.รับสมัครครูที่ไม่แกงวิทยากรนะจ้ะ 😆😆😆
รายละเอียดเพิ่มเติม https://facebook.com/oho.ipst/posts/5120539818010859
🎯🎯🎯 รับสมัครคุณครูเข้าร่วมอบรมหลักสูตรวิทยาการคำนวณสำหรับครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (C4T ม.ต้น) และวิทยาการคำนวณสำหรับครูขั้นสูง (C4T Plus) จำนวน 3 หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษา หมดเขตรับสมัครภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 65 ❤️❤️❤️ ปล.รับสมัครครูที่ไม่แกงวิทยากรนะจ้ะ 😆😆😆

11/02/2022
จะจัดกิจกรรมในชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีได้อย่างไร #งานนี้เข้าร่วมฟรี
ขอเชิญครูและบุคลากรทางการศึกษาเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการ "Effective Use of Technology to promote Learning for both Online and Face-to-Face Classrooms" ในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 9.00 - 16.00 น. ผ่าน Zoom
#สำหรับครูประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
#มีเกียรติบัตรสำหรับผู้เข้าอบรม

09/02/2022
Photos from IPST Thailand's post

01/02/2022
🧨👲 ตุ้งแช่ ! ตุ้งแช่ ! 🐲 ซินเจียยู่อี ซินนี้ฮวดไช้
วันตรุษจีน เมื่อไหร่ 🧧 สีแดง 🧧 ต้องมาค่ะซิส
.
🔴 ‘สีแดง’ เป็นสัญลักษณ์ของความเป็นสิริมงคลในความเชื่อของชาวจีน และเป็นหนึ่งในสามของแสงสีปฐมภูมิ (RGB: สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน) ทางวิทยาศาสตร์
.
การผสมแสงสีของ RGB 🔴🟢🔵 ทำให้เกิดสีอื่นอีกมากมาย ซึ่งการพูดถึงสีต่าง ๆ ในทางคอมพิวเตอร์จะใช้ ‘รหัสสี’ แทนการเรียกชื่อสีผ่านเครื่องหมาย # และตามเลขฐานสิบหก จำนวน 6 หลัก เช่น โดยตำแหน่ง FF แทนด้วยรหัสของสีแดง ตำแหน่ง EE แทนด้วยรหัสของสีเขียว และตำแหน่ง DD แทนด้วยรหัสของสีน้ำเงิน
.
แล้วสี 🎨 ที่เราสามารถเลือกใช้ได้มีกี่สีกันล่ะ ❓
เพราะเลขฐานสิบหก ประกอบด้วย 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F แต่ละหลักของรหัสสีจึงมีค่าที่เป็นไปได้ถึง 16 ค่า ดังนั้นจำนวนสีที่เป็นไปได้ทั้งหมดคือ 16 ยกกำลัง 6 หรือเท่ากับ 16.7 ล้านสี นั่นเอง
.
✨ พลังของสี ✨
ค่าของรหัสสีจะส่งกำลังให้แต่ละสีโดดเด่นต่างกัน เช่น วันตรุษจีน ‘สีแดง’ แสดงว่ารหัสสีของ R จะต้องมีค่ามาก รหัสสี G และ B มีค่าน้อย ดังนั้นรหัสสีที่ได้จะเป็น หรือถ้าอยากผสมสีให้ได้สีเหลืองเต็มพลัง เราก็สามารถผสมสีตามหลักของการผสมแสงสีได้เลย โดยการผสมสีแดงกับสีเขียวเข้าด้วยกันจะได้เป็น ไม่ยากเลยใช่มั๊ยล่ะ
.
🧧 ตรุษจีนนี้ ชีวิตแอดคงไม่ขาดสีสันอย่างแน่นอน ถ้าซิสจะช่วยผสมสีมาฝากกันบ้าง หรือจะลองใช้เครื่องมือผสมสีที่นี่ดูก็ได้ htmlcolorcodes.com
.
ข้อมูลอ้างอิง
📚 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ชั้น ม.5 เล่ม 3 บทที่ 11 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
.
#สสวท #วิทยาศาสตร์ #คณิตศาสตร์ #เทคโนโลยี #ฟิสิกส์ #ตรุษจีน #รหัสสี #สีแดง #สีเขียว #สีน้ำเงิน ดูน้อยลง

17/01/2022
สมรรถนะและทักษะใดบ้าง? ที่จำเป็นสำหรับการศึกษาในอนาคต #ห้ามพลาด
สสวท. ขอเชิญทุกท่านรับชมการเสวนาวิชาการในหัวข้อ “สมรรถนะที่สำคัญสำหรับอนาคต” ในงาน “วันคล้ายวันสถาปนา สสวท. ครบ 50 ปี” ภายใต้แนวคิด “Redesigning Future Education การออกแบบการศึกษาแห่งอนาคต”
-------------------------------
Panel Discussion #5: สมรรถนะที่สำคัญสำหรับอนาคต
.
ผู้ร่วมเสวนา
1. ศ.ดร.ชูกิจ ลิมปิจำนงค์ ผู้อำนวยการ สสวท.
2. ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
3. ดร.รัฐศาสตร์ กรสูต รองผู้อำนวยการใหญ่ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
4. ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
.
ดำเนินการเสวนาโดย ดร.นัฏฐพร รุจิขจร
.
๐ สมรรถนะสำคัญที่สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งอนาคต
๐ สมรรถนะที่ต้องเตรียมพร้อมเพื่อรองรับกับตลาดแรงงานในอนาคต
๐ แนวทางในการส่งเสริมและสร้างเสริมสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับนักเรียนและเยาวชนไทย
-------------------------------
วันจันทร์ที่ 17 มกราคม 2565 เวลา 14:30 – 16:00 น.
.
บุคคลทั่วไปสามารถรับชมสดและย้อนหลังได้ทาง
1) Facebook: IPST Thailand
2) Youtube: IPST Channel
.
ลุ้นรับของรางวัลสุดพิเศษ!! เพียงทำแบบประเมินหลังจบการเสวนา
.
ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ทาง
1) Website: https://50th.ipst.ac.th/
2) Facebook: IPST Thailand
และทุกช่องทางการสื่อสารของ สสวท.
---------------------------------
#สสวท #วันคล้ายวันสถาปนา #50ปี #การออกแบบการศึกษาแห่งอนาคต #การเสวนา #การเสวนาวิชาการ #อนาคตการศึกษาไทย #สมรรถนะ #ทักษะ #โลกยุคดิจิทัล #ประเทศไทย4.0

17/01/2022
ทิศทางการส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษในยุค 4.0 จะเป็นอย่างไร #ห้ามพลาด
สสวท. ขอเชิญทุกท่านรับชมการเสวนาวิชาการในหัวข้อ “ทิศทางการส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษในยุค 4.0” ในงาน “วันคล้ายวันสถาปนา สสวท. ครบ 50 ปี” ภายใต้แนวคิด “Redesigning Future Education การออกแบบการศึกษาแห่งอนาคต”
-------------------------------
Panel Discussion #4: ทิศทางการส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษในยุค 4.0
.
ผู้ร่วมเสวนา
1. ดร.สัมพันธ์ ศิลปนาฎ รองประธาน บริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล สตอเรจ เทคโนโลยีส์ (ประเทศไทย) จำกัด
2. ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา ผู้อำนวยการ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
3. รศ. ดร.ประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการ ก.ค.ศ. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
4. ดร.พรชัย อินทร์ฉาย รองผู้อำนวยการ สสวท.
.
ดำเนินการเสวนาโดย คุณกิตติศักดิ์ กวีกิจมณี
.
๐ ความสำคัญในการพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษด้าน SMT และบทบาทของบัณฑิตกลุ่มนี้ที่มีต่อการพัฒนาประเทศ
๐ กระบวนการส่งเสริมและบ่มเพาะศักยภาพผู้มีความสามารถพิเศษด้าน SMT
๐ แนวทางที่จะช่วยให้โครงการฯ ตอบโจทย์การนำประเทศไทยเข้าสู่ยุค 4.0 ได้อย่างแท้จริง
-------------------------------
วันจันทร์ที่ 17 มกราคม 2565 เวลา 13:00 – 14:30 น.
.
บุคคลทั่วไปสามารถรับชมสดและย้อนหลังได้ทาง
1) Facebook: IPST Thailand
2) Youtube: IPST Channel
.
ลุ้นรับของรางวัลสุดพิเศษ!! เพียงทำแบบประเมินหลังจบการเสวนา
.
ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ทาง
1) Website: https://50th.ipst.ac.th/
2) Facebook: IPST Thailand
และทุกช่องทางการสื่อสารของ สสวท.
---------------------------------
#สสวท #วันคล้ายวันสถาปนา #50ปี #การออกแบบการศึกษาแห่งอนาคต #การเสวนา #การเสวนาวิชาการ #อนาคตการศึกษาไทย #ผู้มีความสามารถพิเศษ #พสวท #สควค #โอลิมปิกวิชาการ #นักเรียนทุน #ประเทศไทย4.0
ที่อยู่
924 ถนนสุขุมวิท พระโขนง คลองเตย
Bangkok
10110
ใกล้ BTS เอกมัย
เวลาทำการ
จันทร์ | 08:30 - 16:30 |
อังคาร | 08:30 - 16:30 |
พุธ | 08:30 - 16:30 |
พฤหัสบดี | 08:30 - 16:30 |
ศุกร์ | 08:30 - 16:30 |
เบอร์โทรศัพท์
เว็บไซต์
แจ้งเตือน
รับทราบข่าวสารและโปรโมชั่นของ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สสวท.ผ่านทางอีเมล์ของคุณ เราจะเก็บข้อมูลของคุณเป็นความลับ คุณสามารถกดยกเลิกการติดตามได้ตลอดเวลา
ติดต่อ ธุรกิจของเรา
ส่งข้อความของคุณถึง สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สสวท.:
วิดีโอทั้งหมด
ทางลัด
ตำแหน่งใกล้เคียง บริการภาครัฐ
-
928 อาคาร 4 ชั้น 3 ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา(เอกมัย) ถ.สุขุมวิท เขตคลองเ
-
928 Sukhumvit Road
-
920 Sukhumvit Rd.
-
924 ถนน สุขุมวิท
-
924 Sukhumvit Road
-
ภายในวัดธาตุทอง ถ.สุขุมวิท เขตพระโขนง
-
2, Soi Sukhumvit 57
-
10110
-
ซอย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
-
Faculty of Social Sciences, Srinakharinwirot University
-
ถนนพระราม6
-
ห้อง 2406 มาเมซองอพาร์ทเม้นท์ เลขที่ 8 ลาดพร้าววังหิน 48 ลาดพร้าว ลาดพร้าว
-
49/1ซ.พระราม56 แขวง แสมดำ เขต บางขุนเทียน กทม.
Bangkok บริการภาครัฐอื่นๆ
-
Administrative Court of Thailand
120 Moo3 Chaeng Watthana Road -
Queen Sirikit National Convention Center
Queen Sirikit National Convention Center 60 Ratchadaphisek Rd, Khlong Toei, Bangkok 10110 -
148 ม.3 ถ.เสรีไทย แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ
-
Sukhumvit Road
-
25/2 Sukhumvit 26 road
-
148 Moo3, Serithai Road, Klong-Chan, Bangkapi
-
Graduate School of Applied Statistics, NIDA
148 Serithai Rd -
36/10
-
50 Ngam Wong Wan Rd, Ladyaow Chatuchak
-
เลขที่ 191 ซอย วิภาวดีรังสิต 62 แยก 4-7 แขวง ตลาดบางเขน เขต หลักสี่ กรุงเทพมหาน
-
Chemistry at Mahidol University
272 Rama VI Rd. Rachathewi
ความคิดเห็น
...*คำว่าวิชาพื้นฐาน นร.ต้องเรียนเหมือนกันทุกห้อง ให้ครบตามหลักสูตร
...*แต่ปัญหาอยู่"ห้องสายวิทย์"ที่สสวท.ออกแบบให้ใช้หนังสือเพิ่มเติมเล่มเดียวเรียนควบทั้ง (พื้นฐานและเพิ่มเติม) 200 ชม./ปี
หมายเหตุ
1. (ถ้าใช้)หนังสือพื้นฐาน สสวท.ที่มีอยู่แล้วมาให้"ห้องสายวิทย์"เรียนเนื้อหาก็จะ"ซ้ำซ้อนกัน"
2.(ถ้าไม่ใช้)หนังสือพื้นฐานที่มีอยู่แล้ว แต่ใช้หนังสือเพิ่มเติมเล่มเดียวโดยแยกเป็น 2 รหัส ก็จะทำให้วิชาพื้นฐาน เรียนไม่เหมือนกันแน่นอน ทั้งที่เป็นรหัสเดียวกัน
2.รายวิชาเพิ่มเติม มี 4 บท
(3บทแรก เหมือนกับพื้นฐาน เพียงแต่เพิ่มบทที่ 4 เข้ามา)
#หมายเหตุ
1.เนื้อหาซ้ำซ้อนกัน 3 บท
(ควรพิจารณาแก้ไข หรือ ให้คงเนื้อหาอันเดิมปีที่แล้ว ของเพิ่มเติม)
....โปรดพิจารณาทบทวนเนื้อหา ในหนังสือคณิตศาสตร์ ม.6 เทอม 2 เล่มใหม่ ดังนี้
1.รายวิชาพื้นฐาน มี 3 บท
2.รายวิชาเพิ่มเติม มี 4 บท
(3บทแรก เหมือนกับพื้นฐาน เพียงแต่เพิ่มบทที่ 4 เข้ามา)
#หมายเหตุ
1.เนื้อหาซ้ำซ้อนกัน 3 บท
(ควรพิจารณาแก้ไข หรือไม่ก็คงเนื้อหาอันเดิมปีที่แล้วของเพิ่มเติม)
https://www.youtube.com/channel/UCNRtIQe_cvnZ7wx4szEL3yg?view_as=subscriber ขอบคุณมากครับ
ในเล่มตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ส่วนของวิชาเพิ่มเติม สาระสถิติและความน่าจะเป็นของชั้น ม.ปลาย ไม่มีผลการเรียนรู้ที่เป็นเนื้อหาสถิติเลยค่ะ เห็นมีแต่เนื้อหาความน่าจะเป็น แสดงว่าในรายวิชาเพิ่มเติมไม่ต้องเรียนสถิติแล้วใช่ไหมคะ
ขอบคุณค่ะ
แจกฟรี !!!!
ข้อสอบ O-NET ชั้น ป.6 ม.3 ม.6
ปีการศึกษา 2549-2561 (พร้อมเฉลยละเอียด)
***ครบ 5 วิชาหลัก ทั้งภาษาไทย คณิคศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม และอังกฤษ
(เผื่อครูท่านใดต้องการเอาไปเตรียมติวสอบ O-NET ครับ)
*** ดาวโหลดฟรี ได้ที่เว็บไซต์นี้ครับ ***
https://sites.google.com/a/rkbr.ac.th/o-net/