สำนักงานบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ขอขอบคุณทุกท่านที่ให้เกียรติมาร่วมงานมหกรรมงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2565 เมื่อวันที่ 22-23 กรกฎาคม 2565 ที่ผ่านมา ภายใต้แนวคิด “CMU High Impact Research & Innovation Expo”
แล้วพบกับใหม่ ^^
#วันที่2 กับ #งานมหกรรมงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
#วันที่2 กับ #งานมหกรรมงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2565 (CMU High Impact Research & Innovation Expo 2022)
📌 พบกับช่วง #กิจกรรมการนำเสนองานวิจัยกับการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย
มหกรรมงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2565 (CMU High Impact Research & Innovation Expo 2022)
📌กลับมาพบกันอีกครั้งกับช่วง #เสวนาวิชาการ ในหัวข้อ "งานวิจัยและนวัตกรรมที่มีผลกระทบสูงและการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ" ในงานมหกรรมงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2565 (CMU High Impact Research & Innovation Expo 2022)
ผู้ร่วมเสวนา ประกอบด้วย
1. รองศาสตราจารย์ ดร.ธงชัย สุวรรณสิชณน์ รองผู้อำนวยการด้านการบริหารงานวิจัย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ-บพข.
2. ศาสตราจารย์ ดร.สมปอง คล้ายหนองสรวง ผู้อำนวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและนวัตกรรม (บพค.) PMU-B บพค.
3. ดร.พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สนช.) NIA : National Innovation Agency, Thailand
ดำเนินรายการ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัญญานุภาพ อานันทนะ ผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์และเทค
มหกรรมงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2565 (CMU High Impact Research & Innovation Expo 2022)
📌กลับมาพบกันอีกครั้งกับช่วงบ่ายค่า
ในช่วงเวลาของ #การชมบูธนิทรรศการ "มหกรรมงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2565 (CMU High Impact Research & Innovation Expo 2022)" ติดตามชมบูธแบบ Real ของเราได้ ทั้ง 2 วัน ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่นะคะ
ส่วนท่านไหนไม่สะดวกมาชมด้วยตัวเอง รอรับชมอีกครั้งช่วงเย็นนี้ เวลา 16.00 น. โดยประมาณค่า
#อย่าลืมกดติดตาม เพื่อไม่พลาดทุกกิจกรรมของเรานะคะ
มหกรรมงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2565 (CMU High Impact Research & Innovation Expo 2022)”
#กลับมาพบกับ “มหกรรมงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2565 (CMU High Impact Research & Innovation Expo 2022)” ในรูปแบบออนไลน์ ผ่าน Facebook Live : สำนักงานบริหารงานวิจัย ม.เชียงใหม่📍📍
#ในช่วงที่4 #เสวนาวิชาการ หัวข้อ "ทิศทางของงานวิจัยและนวัตกรรมที่พึงปราถนา : มุมมองจากนักเศรษฐศาสตร์"มหกรรมงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2565 (CMU High Impact Research & Innovation Expo 2022)”
โดย 1. ดร.วิรไท สันติประภพ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยและกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด ประธานมูลนิธิสถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ
3. รองศาสตราจารย์ ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดำเนินการรายการ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.คมสัน สุริยะ ผู้
การอบรมเชิงปฏิบัติการ PDPA
Special event
การบรรยายพิเศษ เรื่อง "การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมระดับพื้นที่ สู่งานวิจัยที่มีผลกระทบสูง"
โดย ดร.กิตติ สัจจาวัฒนา ผู้อำนวยการ #หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)
จัดโดย สำนักงานบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เสวนาวิชาการ Ground Water : making the invisible visible น้ำบาดาล : การทำทรัพยากรที่มองไม่เห็น ให้มองเห็น
เสวนาวิชาการออนไลน์ เนื่องในวันน้ำโลก ประจำปี 2565 เรื่อง Ground Water : making the invisible visible
น้ำบาดาล : การทำทรัพยากรที่มองไม่เห็น ให้มองเห็น
บันทึกวีดิทัศน์ย้อนหลัง "การชี้แจงรายละเอียดประกาศเปิดรับข้อเสนอแผนงานวิจัย ประจำปี 2566 ของสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)" เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2565 ที่ผ่านมา
⏬
⏬
⏬
#ARDA
สัมมนาวิชาการออนไลน์ Medical Device & Medicinal Product
เสวนาวิชาการ Research Integrity: A Key Element of Good Research Practice
Office of Research Administration's Personal Meeting Room
เสวนาวิชการ หัวข้อ "Soft Skill in Real Practice: การปรับตัวของนักวิจัยต่อการเปลี่ยนแปลงระบบการให้ทุน"
ประมวลภาพบรรยากาศการประชุม 7/10/62
วันที่ 7 ตุลาคม 2562
รองศาสตราจารย์ ดร.สัมพันธ์ สิงหราชวราพันธ์ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสำนักงานบริหารงานวิจัย ได้จัดการประชุมกำหนดแผนงานเพื่อเสนอขอทุนบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ 2564 พร้อมจัดทำแผนปฏิบัติการด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (แผน ววน.) ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยได้รับเกียรติจากผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม ในนามผู้แทนจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัญญานุภาพ อานันทนะ ผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาให้ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางในการจัดทำแผนงานวิจัยบูรณาการภายใต้กรอบ BCG (การ บูรณาการการพัฒนาเศรษฐกิจ 3 มิติ คือ เศรษฐกิจชีวภาพ Bio Economy, เศรษฐกิจหมุนเวียน Circular Economy และเศรษฐกิจสีเขียว Green Economy) และร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้อำนวยการแผนงานวิจัยบูรณาการ
ณ อาคาร NSP Rice Grain Auditorium อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (STeP CMU)