"กาดหลวง (หลากหลายสินค้า ปัญหา และ "เสียงจากคนใน")
สารคดีมานุษยวิทยานิพนธ์ดีเด่น
โดย ปรเมษฐ์ คำสี, พสิษฐ์ เขียวงาม, เมตตรัย โปษยานนท์ และวิชชากร นวลฝั้น กระบวนวิชา มานุษยวิทยาทัศนา (Visual Anthropology) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
"ประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ ปากน้ำโพ" สารคดีมานุษยวิทยานิพนธ์ดีเด่น โดย ธีรภัทร คะเชนทรภักดิ์ นักศึกษา กระบวนการวิชา มานุษยวิทยาทัศนา (Visual Anthropology) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ภาควิชาสังคมวิทยาฯ มช.
📣 พฤศจิกา พาเรามาพบกัน กับ กิจกรรมใหญ่ ‼️
.
ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอเชิญชวนนักศึกษาเก่าและนักศึกษาปัจจุบันทุกท่านเข้าร่วมงาน “ไหว้สา ครูบา-อาจารย์ สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คืนถิ่น” ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2566 (ก่อนงาน “รับน้องขึ้นดอยประจำปี 2566” ในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2566 หนึ่งวัน)
เวลา 9.00 - 12.00 น ณ ห้องประชุมใหญ่ชั้น 2 ตึก 3 (ตึกภาควิชาสังคมวิทยาฯ) คณะสังคมศาสตร์ และลานจามจุรี
รายละเอียดกำหนดการ
9.00 น ลงทะเบียน
9.30 น เริ่มพิธีสงฆ์ ทำบุญอุทิศส่วนกุศลถึงอาจารย์และนักศึกษาเก่าของภาควิชา ผู้ล่วงลับ
10.30 น ถวายเพลพระสงฆ์
11.00 - 12.00 น กิจกรรมพบปะระหว่างคณาจารย์ นักศึกษาเก่า และนักศึกษาปัจจุบัน
การนำเสนอผลงานนักศึกษาระดับปริญญาตรี ในกระบวนวิชา 159335 สังคมวัฒนธรรมประกอบการและธุรกิจเพื่อสังคม ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2566 (อาจารย์ผู้สอน : รองศาสตราจารย์ ดร.อรัญญา ศิริผล)
.
กลุ่มที่ 2 ชื่อผลงาน “แว่นตานำทาง” เพื่อผู้พิการทางสายตา โดย กลุ่ม “อิสรวบกรุ๊ป” วิเคราะห์ว่า กลุ่มผู้พิการทางสายตาที่ใช้ชีวิตประจำวันได้ค่อนข้างลำบาก และประสบอุบัติเหตุบ่อยครั้ง โดยนักศึกษากลุ่มนี้ได้สำรวจน้อง ๆ ผู้พิการทางสายตาในโรงเรียนสอนคนตาบอด พบ 2 กลุ่มหลัก คือ กลุ่มบอดสนิท กับ กลุ่มมองเห็นเลือนราง
.
สำหรับเป้าหมาย คือ เพื่อลดความเสี่ยงและอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้พิการทางสายตา
.
วิธีการ – จัดทำเเว่นตานำทาง 2 ประเภท คือ แว่นตานำทางสำหรับ”คนตาบอดสนิท” กับ แว่นตานำทางสำหรับ”คนตาเลือนราง” โดยกลุ่มนี้ได้หารือความเป็นไปได้ก
การนำเสนอผลงานนักศึกษาระดับปริญญาตรี ในกระบวนวิชา 159335 สังคมวัฒนธรรมประกอบการและธุรกิจเพื่อสังคม ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2566 (อาจารย์ผู้สอน : รองศาสตราจารย์ ดร.อรัญญา ศิริผล)
.
หัวข้อ เรื่อง “สุราก้าวหน้า” โดยกลุ่ม "SURA AGRI"
แม้ว่า กฎหมายยังไม่อนุญาต แต่นักศึกษาทดลองคิดและลงมือทำเป็นโครงงาน ธุรกิจเพื่อสังคมนี้ โดยตั้งเป้าหมายเพื่อ
1) รับซื้อผลผลิตเกษตรในเชียงใหม่ที่ขายราคาตกต่ำนำมาแปรรูปเป็นสุราชั้นดี และ
2) เพื่อสร้างแบรนด์ “สุราก้าวหน้า” จากสูตรภูมิปัญญาท้องถิ่นผสานวิชาการอุตสาหกรรมเกษตร หวังลดการผูกขาดกลุ่มทุน
.
นักศึกษากลุ่มนี้ ออกแบบโลโก้ ขวด และทำแบบสำรวจกลุ่มผู้สนใจสุราก้าวหน้า รวมทั้ง ศึกษาทบทวนข้อมูลเกษตรกรในเขตเชียงใหม่ที่ประสบปัญหา ตลอดจนพืชเกษตรที่เหมาะกับการผลิตสุรา ก่อนที่จะนำมาเป
ตำนานพระเจ้าเลียบโลก 5 ศตวรรษนับจากการคัดลอก แต่ง เป็นภาษาล้านนา
ศูนย์วัฒนธรรมศึกษาและเมืองร่วมสมัย ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอเชิญร่วมงานเสวนาวิชาการ "500 ปี ตำนานพระเจ้าเลียบโลก (2066 - 2566)"
.
🗓️ วันพฤหัสบดีที่ 7 กันยายน 2566
🕐 เวลา 13.00 เป็นต้นไป
📍 ณ ห้องประชุมภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และผ่าน Facebook LIVE 🔴 Department of Sociology and Anthropology, Chiangmai University
.
✳️กิจกรรมเสวนานี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการจัดพิมพ์หนังสือตำราในวาระครบรอบ 60 ปี ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่✳️
.
กิจกรรมเสวนา
.
📌 "ตำนานพระเจ้าเลียบโลก: 5 ศตวรรษนับจากการคัดลอก/แต่ง เป็นภาษาล้านนา, ความสำคัญและคุณูปการของวรรณกรรมพุทธศาสนาในพื้นที่วัฒนธรรมล้านนาและสิบสองปันนา (จีน พม่า ลาว และไทย)"
วิทยากรโดย
- ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ประคอง นิมมานเหมินท์ (ร
สารคดีสั้น เรื่องเล่าจากสนาม ชุด คนไร้บ้าน-ชุมชนเมือง "งานของคนไร้บ้าน"
สารคดีสั้น เรื่องเล่าจากสนาม ชุด คนไร้บ้าน-ชุมชนเมือง "งานของคนไร้บ้าน" โดยนักศึกษาระดับปริญญาตรี กระบวนวิชา 159365 การศึกษาชุมชนร่วมสมัยและวิจัยข้ามศาสตร์ ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2565
.
คณะผู้จัดทำ
1. นางสาวกัณณิกา เพิ่มหรรษา
2. นาวสาวนภาพร ประทุมพงษ์
3. นางสาวพิมลลดา กาศวิเศศ
4. นางสาวพีรดา เพ็ชรัตน์
และ
รองศาสตราจารย์ ดร.อรัญญา ศิริผล
สารคดีสั้น เรื่องเล่าจากสนาม ชุด คนไร้บ้าน-ชุมชนเมือง "คนไร้บ้านเพศหญิง"
สารคดีสั้น เรื่องเล่าจากสนาม ชุด คนไร้บ้าน-ชุมชนเมือง "คนไร้บ้านเพศหญิง" โดยนักศึกษาระดับปริญญาตรี กระบวนวิชา 159365 การศึกษาชุมชนร่วมสมัยและวิจัยข้ามศาสตร์ ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2565
.
คณะผู้จัดทำ
1. นายวิชชากร นวลฟั่น
2. นายธิติวุฒิ ศรีทองกูร
3. นางพงษ์ภัทร์ ชนม์กมลจรัส
4. นายธีรภัทร คะเชนทรภักดิ์
และ
รองศาสตราจารย์ ดร.อรัญญา ศิริผล
งานเสวนาวิชาการวันสตรีสากล เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่
งานเสวนาวิชาการวันสตรีสากล
เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่
แม่ญิงล้านนาในสังคมวัฒนธรรมแห่งความพลิกผัน
วันพุธที่ 8 มีนาคม 2566
เวลา 13.30 - 16.30 น.
ณ ห้องประชุมใหญ่ ภาควิชาสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
งานเสวนา “เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่ แม่ญิงล้านนาในสังคมวัฒนธรรมแห่งความพลิกผัน”
วันพุธที่ 8 มีนาคม 2566
เวลา 08.30 - 16.30 น.
ณ ห้องประชุมใหญ่ ภาควิชาสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
"ผ้าซิ่นตีนจกกับมุมมองของคนในพื้นที่: อำเภอแม่แจ่ม" ผลงานภาพยนตร์ชาติพันธุ์นิพนธ์ Ethnographic Film ดีเด่น จากชั้นเรียนวิชา มานุษยวิทยาทัศนา (Visual Anthropology) 159462 ภาคเรียนที่ 1/2565 โดย นางสาวกาญจนา โยรภัตร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มช.
"คลองแม่ข่า" ผลงานภาพยนตร์ชาติพันธุ์นิพนธ์ Ethnographic Film ดีเด่น จากชั้นเรียนวิชา มานุษยวิทยาทัศนา (Visual Anthropology) 159462 ภาคเรียนที่ 1/2565 โดย นางสาวจิณาวรรณ ผันแก้ว นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มช.
เมตตาศีกษา โรงเรียนเก่าของ จรัล มโนเพ็ชร
แนะนำ "เมตตาศึกษา" โรงเรียนที่ จรัล มโนเพ็ชร เคยศึกษาอยู่ (ระหว่างชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ปีที่ 3) เมื่อครั้งยังเป็นละอ่อนวัยรุ่นในเวียงเชียงใหม่
ผลงานสารคดีเฉพาะกิจของทีมนักศึกษากระบวนวิชา Visual Anthropology (159462 ภาคเรียนที่ 2/2565) ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
งานเสวนา “ครูบา พุทธศาสนาในล้านนา และ ชาร์ลส์ เอฟ. คายส์” 3 พฤษภาคม 2565 ช่วงที่ 2
งานเสวนา “ครูบา พุทธศาสนาในล้านนา และ ชาร์ลส์ เอฟ. คายส์” 3 พฤษภาคม 2565 ช่วงที่ 2
.
- เสวนาหนังสือ "ครูบาเจ้าศรีวิชัย ตนบุญล้านนา" โดย อาจารย์แสวง มาละแซม
- ร่วมเสวนาโดยนักวิชาการด้านล้านนาคดีและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา อาทิ ธเนศวร์ เจริญเมือง, รัตนา โตสกุล, แคเธอรีน บาววี ฯลฯ
- ดำเนินรายการโดย รศ.ดร.วสันต์ ปัญญาแก้ว
.
ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับมูลนิธิสถาบันครูบาศรีวิชัย จัดโครงการงานเสาวนา “ครูบา พุทธศาสนาในล้านนา และ ชาร์ลส์ เอฟ คายส์” ในวันที่ 3 พฤษภาคม 2565 ณ ห้องประชุมภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (ชั้น 4 อาคาร 3) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และผ่านระบบ ZOOM Meeting เพื่อรำลึกและเป็นเกียรติ แก่ ศาสตราจารย์ ชาร์ลส์ เอฟ. คายส์ นักมานุษยวิทยาชาวอเมริกัน ซึ่งได้เส
งานเสวนา “ครูบา พุทธศาสนาในล้านนา และ ชาร์ลส์ เอฟ. คายส์” 3 พฤษภาคม 2565 ช่วงที่ 1
งานเสวนา “ครูบา พุทธศาสนาในล้านนา และ ชาร์ลส์ เอฟ. คายส์” 3 พฤษภาคม 2565 ช่วงที่ 1
.
- นำเสนอการบรรยาย “ครูบาศรีวิชัย พุทธศาสนาในล้านนากับ ชาร์ลส์ เอฟ คายส์” โดย ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์
- ดำเนินรายการโดย รศ.ดร.วสันต์ ปัญญาแก้ว
.
ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับมูลนิธิสถาบันครูบาศรีวิชัย จัดโครงการงานเสาวนา “ครูบา พุทธศาสนาในล้านนา และ ชาร์ลส์ เอฟ คายส์” ในวันที่ 3 พฤษภาคม 2565 ณ ห้องประชุมภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (ชั้น 4 อาคาร 3) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และผ่านระบบ ZOOM Meeting เพื่อรำลึกและเป็นเกียรติ แก่ ศาสตราจารย์ ชาร์ลส์ เอฟ. คายส์ นักมานุษยวิทยาชาวอเมริกัน ซึ่งได้เสียชีวิตลงในวัย 84 ปี เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2565 ศาตราจารย์ คายส์ ได้รับทุนฟูลไบร
VIJIT PRAPHONG's Personal Meeting Room
เสวนาเปิดตัวหนังสือ "เสียงที่ไม่ได้ยิน"
📢
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) และคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอเชิญนิสิตนักศึกษา ส่งบทความเพื่อนำเสนอในงานประชุมวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 20 ประจำปี 2564
.
ผู้สนใจสามารถส่งไฟล์บทความ (Microsoft Word Document (.doc / docx) เข้ามาได้ทาง https://socantnet.org/2021-change/call-for-papers/ หรือทางอีเมล์ [email protected]
.
🗓 กำหนดการจัดงาน: วันพฤหัสบดีและศุกร์ที่ 10 - 11 มิถุนายน 2564 ณ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
📬 เปิดรับบทความ: วันนี้ - ถึง 15 มีนาคม 2564
🗞 ประกาศผลการพิจารณา: 15 เมษายน 2564
📝 รายละเอียดบทความ:
- เป็นบทความทางวิชาการ บทความวิจัย บทความจากวิทยานิพนธ์
- บทความต้องระบุชื่อบทความ ชื่อ-สกุล ชื่อหน่วยงานหรือสถาบันที่ผู้เขียนสังกัด (ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ) และอีเมล์ติดต่อผู้
การสร้างพื้นที่ความรู้ในสังคมพหุวัฒนธรรมของกลุ่มคนที่กำลังก่อตัวขึ้นใหม่ (บ่าย)
การนำเสนอผลการทำงานโครงการ“การสร้างพื้นที่ความรู้ในสังคมพหุวัฒนธรรมของกลุ่มคนที่กำลังก่อตัวขึ้นใหม่ในกระบวนการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมสมัยใหม่” ครั้งที่ 3
.
ร่วมรับฟังเรื่องราวการใช้ชีวิตของผู้คนหลากหลายในสังคมทุนนิยม จากผู้ทำการศึกษา และผู้ร่วมอภิปรายใน 6 ประเด็น
❶ “สตรีผู้ประกอบการและการช่วงชิงพื้นที่ท่องเที่ยวในเมืองชายแดนปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน” โดย ดร.ไพบูลย์ ร่วมอภิปราย โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริจิต สุนันต๊ะ
❷ “การดิ้นรนต่อสู้ของแรงงานข้ามชาติไทใหญ่แบบผิดกฎหมายในเมืองเชียงใหม่” โดย ดร.วิจิตร ประพงษ์ ร่วมอภิปราย โดย ดร.นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ"
❸ “ผู้ตื่นตัวทางการเมืองที่ไม่ใช่พลเมือง การช่วงชิงความเป็นพลเมือง” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา รักยุติธรรม ร่วมอภิปรายโดย ดร.สุทธิดา วิมุตติโก
การสร้างพื้นที่ความรู้ในสังคมพหุวัฒนธรรมของกลุ่มคนที่กำลังก่อตัวขึ้นใหม่ ครั้งที่ 3
การสร้างพื้นที่ความรู้ในสังคมพหุวัฒนธรรมของกลุ่มคนที่กำลังก่อตัวขึ้นใหม่ในกระบวนการเปลี่ยนผ่านเข้าสู้สังคมสมัยใหม่ ครั้งที่3
Live! งานเสวนา "จุดตัดของเรื่องต้องห้าม ในพื้นที่ความรู้"