
22/12/2020
กองบริหารการสาธารณสุข
ต้อนรับการเข้าเยี่ยมคารวะปลัดกระทรวงสาธารณสุขฯ
タイで実施中のJICA高齢者のための地域包括ケアサービス開発プロジェクト(S-TOP)活動の最新情報を3カ国語でお伝えします。
(1)
เปิดเหมือนปกติ
กองบริหารการสาธารณสุข
ต้อนรับการเข้าเยี่ยมคารวะปลัดกระทรวงสาธารณสุขฯ
The 12th (1st/2021) Working Team Meeting was held on Friday November 13th, 2020 at Uthai Sudsuk Meeting room in the Office of Permanent Secretary Building, Ministry of Public Health. The meeting was chaired by Dr. Sinchai Tantirattananon, the new director of Health Administrative Division. There were 29 participants including representatives from Ministry of Public Health (Department of Health, Department of Medical Service, Department of Mental Health and Health Administration Division), Ministry of Social Development and Human Security, and National Health Security Office. In the meeting, there were discussion on preparation for the 3rd JCC meeting in December 2020 and Online Training in February 2021. Ms. Yoneda, expert of S-TOP project shared the progress of Mid-term review report (discussion paper). Then, the participants of the meeting discussed issues on monitoring and evaluation, mini research, and the stakeholder map of the S-TOP pilot sites.
ในวันศุกร์ที่ 13 พฤศจิกายน 2563 ที่ผ่านมา โครงการ S-TOP ได้มีการจัดประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 12 (1/2564) ณ ห้องประชุมอุทัย สุดสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยมี นายแพทย์ สินชัย ตันติรัตนานนท์ ผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุขเป็นประธาน ผู้เข้าร่วมมีจำนวน 29 คน ประกอบด้วยผู้แทนจากกระทรวงสาธารณสุข (กรมอนามัย กรมการแพทย์ และกรมสุขภาพจิต กองบริหารการสาธารณสุข) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในที่ประชุม ได้มีการเตรียมการประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 3 ที่จะจัดขึ้นในเดือนธันวาคมนี้ รวมถึงมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่อการจัด Online Training ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 นอกจากนี้ โครงการ S-TOP ได้นำเสนอความคืบหน้าและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของรายงานการทบทวนระยะกลาง (Discussion Paper) โดยคุณโยเนดะ และผู้เข้าร่วมได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็น การติดตามและประเมินผล การทำวิจัยของโครงการ และแผนผังของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในแต่ละพื้นที่นำร่อง (Stakeholder Map)
S-TOP Project visited Industrial Rehabilitation Center Region 3 in Chiang Mai in order to observe and participate in the Case Conference utilizing ICF model on 6th November 2020.
ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2563 โครงการ S-TOP ได้เข้าเยี่ยมชมศูนย์ฟื้นฟสมรรถภาพคนงานภาค 3 จังหวัดเชียงใหม่เพื่อร่วมสังเกตการณ์ในการประชุม Case Conference โดยใช้บัญชีสากลเพื่อการจำแนกการทำงาน สุขภาพและความพิการ (ICF)
JICA Thailand Office(JICAタイ事務所)
Nonthaburi Site Visit for S-TOP Project
On October 15, 2020 at Nonthaburi Pilot Site of Project on Seamless Health and Social Services Provision for Elderly Persons (S-TOP), Japanese experts and JICA Thailand Office visited the sites to monitor the progress of the project.
The places for visiting namely; Pranangklao Hospital, Ban Eua-Arthorn Elderly Day Care Center, Bangbuathong 1 and Bangbuathong Hospital 2.
The person in-charge of each place gave presentation on the background and acquisition of the intermediate care in supporting the operation on day care services, rehabilitation center and hospital development to be the rehabilitation center hospital by using the experiences from trainings in Japan.
(Suwanna, JICA Thailand Office)
Mr. YOKOTA, First Secretary from the embassy of Japan in Bangkok, Mr. YUASA, Senior Representative and Ms. KAWAI, Representative from JICA Thailand Office and S-TOP members visited Nonthaburi pilot site to observe the intermediate care service provision and follow up progress and plan of their activities. We visited 3 areas including Pranangklao Hospital, Ban Uea Athon Bangbuathong 1 Day Care Center and Bangbuathong 2 Hospital.
On the site visit, we had seen the comprehensive intermediate care service provision start from acute hospital, community hospital and day care center in the community. Moreover, we could see involvement of patient and family and team work of multidisciplinary team for elderly care.
ในวันที่ 15 ตุลาคม 2563 Mr. YOKOTA เลขานุการเอกจากสถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทย Mr. YUASA ผู้แทนอาวุโส และ Ms. KAWAI ผู้แทน จากสำนักงาน JICA Thailand และทีมโครงการ S-TOP ได้ลงพื้นที่เพื่อสังเกตการณ์การดำเนินงานการบริการการดูแลระยะกลางในพื้นที่นำร่องจังหวัดนนทบุรีเพื่อติดตามความคืบหน้าในการดำเนินกิจกรรมและแผนการดำเนินงานในพื้นที่ ประกอบด้วย โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า ศูนย์ดูแลฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุโครงการบ้านเอื้ออาทรบางบัวทอง 1 และ โรงพยาบาลบางบัวทอง 2
ในการลงเยี่ยมครั้งนี้ทำให้ได้เห็นการให้บริการการดูแลระยะกลางอย่างครอบคลุม ตั้งแต่โรงพยาบาลระยะเฉียบพลัน โรงพยาบาลชุมชน ตลอดจนศูนย์ดูแลในชุมชน นอกจากนี้ยังได้เห็นการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติ และการทำงานร่วมกันของสหสาขาวิชาชีพในพื้นที่เพื่อผู้สูงอายุ
☆Sharing video, "Stand up with full support ", made by the former JICA rehabilitation volunteers☆
Let us share the 7th video clip from the mini-series of “how to support basic movements of those who have difficulties on these”. Please refer below points when you watch and practice!
Point 1: Please raise the seat if possible, so that a subject can stand up easier than usual
Point 2: Caregiver can also use a chair to prevent back pain.
Point 3: Some people are afraid to lean forward when standing up. In such a case, if there is a person or an object in front of them, they can safely load in front of them. People with sensory paralysis are generally afraid to move their bodies to an empty space.
Point 4: This method is also effective as a load exercise of feet. In this case, the caregiver needs to be aware of controlling trunk of the subject by his trunk and monitoring the legs of the subject at any time.
☆ แชร์คลิปวิดีโอเรื่อง “(การฝึกยืน แบบช่วยเหลือทั้งหมด) จัดทำวิดีโอโดย อาสาสมัครด้านการฟื้นฟูสภาพของ JICA ☆
สำหรับวิดีโอที่ 7 ของชุดวิดีโอเรื่อง "การช่วยเหลือการเคลื่อนไหวเบื้องต้นสำหรับผู้มีปัญหาในการเคลื่อนไหวและการช่วยเหลือตนเอง" ขอให้ลองดูประเด็นต่าง ๆ ตามหัวข้อด้านล่างดังต่อไปนี้ ในขณะที่คุณดูวิดีโอหรือเมื่อนำไปฝึกปฏิบัติจริง!
จุดที่ 1: ปรับที่นั่งของผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุให้สูงถ้าทำได้ เพื่อให้ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุสามารถยืนได้ง่ายขึ้น
จุดที่ 2: ผู้ดูแลสามารถใช้เก้าอี้นั่งได้เพื่อป้องกันการเกิดการบาดเจ็บที่หลังของผู้ดูแล
จุดที่ 3: ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุบางคนจะมีความกลัวที่จะโน้มตัวไปข้างหน้าขณะลุกขึ้นยืน ในกรณีนี้การที่มีคนหรือสิ่งของอยู่ทางด้านหน้าจะช่วยให้พวกเขาสามารถยึดเกาะไว้ได้เพื่อความมั่นคงปลอดภัย ส่วนใหญ่ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุที่สูญเสียประสาทการรับรู้ความรู้สึกจะมีความกลัวที่จะเคลื่อนไหว/เคลื่อนย้ายร่างกายในพื้นที่โล่ง
จุดที่ 4: วิธีฝึกยืนนี้ยังมีประสิทธิภาพเพื่อใช้ไนการฝึกการลงน้ำหนักที่เท้าของผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุเช่นกัน ในการจะฝึกลงน้ำหนักที่เท้านี้ ผู้ดูแลจำเป็นที่จะต้องคอยควบคุมช่วงลำตัวของผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุและคอยสังเกตดูการเคลื่อนไหวของขาตลอดเวลา
☆動画紹介:“端坐位からの立ち上がり 全介助” ―介助者にも介助される側にも負担の少ない実践例― 元JICAボランティア リハビリテーション隊員より☆
動画ミニシリーズ “基本動作の介助方法” から、本日は、端坐位からの立ち上がり動作を全介助で行う一例についてご紹介します。動画をご覧になる際、実践される際は以下のポイントに気をつけてください。
ポイント1:可能であれば、対象者の座面を高くすることでより立ち上がりやすくなります。
ポイント2:介助者も椅子を用いることで、腰痛予防になります。
ポイント3:立ち上がり時前方に体を倒す事を怖く感じる人もいます。このような場合は、前に人がいたり、物があると前方に安心して荷重できます。一般的に感覚麻痺がある人は何もない所に身体を移動していくことに恐怖を感じます。
ポイント4:この立ち上がり方法は荷重練習としても有効です。その際は、介助者は自身の体幹で対象者の体幹をコントロールする事、また対象者の下肢の状況を随時モニタリングする事を意識してください。
1st October, International Day of Older Persons
“International Day of Older Persons” is observed on October 1st each year. It was first established by the United Nations on October 1st 1991 as an important day for older persons around the world, for the reason to show the value of the elderly and let the public realize that the elderly’s life has made a meaningful contribution and many virtues including their creation for society from the past to the present.
The S-TOP project is a project that tries to improve seamless health and social care service for the elderly by applying knowledge and experiences of Japan, to the Thai context, to reduce the number of dependent elderly as well as the burden of their family in Thailand. By doing so, we believe the elderly in Thailand will have a better quality of life (QOL) and can lead a happy life.
Currently, S-TOP has intermediate care operations, which are the keys to link acute care to long-term care, in the 8 pilot sites across Thailand including Bangkok, Nonthaburi, Chonburi, Nakhon Ratchasima, Khon Kaen, Chiang Mai, Surat Thani and Phuket. There is a network between acute hospital, community hospital and, health and social facilities in the sub-district level, which some areas have established day care centers to provide services to the elderly such as recreational activities and rehabilitation. The numbers of day care centers tend to increase in each area to provide services for the increasing numbers of elderly in the future. Focusing on community-based day care centers, there is coordination and collaboration between the government sector, network and civil sector. One example on the implementation of day care centers in the pilot site is Nonthaburi Province. It targeted to expand the day care centers to cover all districts in the province. The outcomes of the implementation are, for example, 20% of the independent elderly can conduct better Activities of Daily Living, reduction of the expense regarding rehabilitation by 1,500-baht monthly average per family and reduction of time spending at the hospital. It also shows that 95% of the elderly and their families were highly satisfied. After all, the stakeholders even recognized that having a day care center in the community does not only improve the elderly health and reduce the burden of the family, but also build stronger relationships in the community through supporting the elderly.
Last but not least, knowing that Thailand and many countries of the world will enter the era of super aging society in the near future, we S-TOP project would like Thai people to realize the important of the elderly and understand more about the elderly situation in order to live together happily in the society.
วันผู้สูงอายุสากล “International Day of Older Persons” ตรงกับวันที่ 1 ตุลาคม ของทุกปี กำหนดขึ้นเป็นครั้งแรกโดยองค์การสหประชาชาติในวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) ให้เป็นวันสำคัญของผู้สูงอายุทั่วโลก เพื่อแสดงให้เห็นถึงคุณค่าของผู้สูงอายุ ให้คนทั่วไปตระหนักว่า ชั่วชีวิตที่ผ่านมาผู้สูงอายุได้สร้างคุณประโยชน์ คุณงามความดีไว้มากมาย รวมทั้งสรรค์สร้างทุก ๆ สิ่งมาให้กับสังคมตั้งแต่อดีตจวบจนถึงปัจจุบัน
โครงการ S-TOP เองก็เป็นโครงการที่มีความพยายามพัฒนาระบบบริการที่ไร้รอยต่อสำหรับผู้สูงอายุ โดยการนำความรู้และประสบการณ์จากประเทศญี่ปุ่นมาเผยแพร่และนำแนวปฏิบัติมาประยุกต์ใช้กับบริบทประเทศไทย เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่ต้องการพึ่งพิงรวมไปถึงลดการดูแลของครอบครัวในอนาคต ให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
ในปัจจุบันโครงการ S-TOP มีการดำเนินงานด้านการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวมจากระยะเฉียบพลัน ระยะกลาง ไปจนถึงการดูแลระยะยาวในพื้นที่นำร่องทั่วประเทศไทย จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ กรุงเทพมหานครฯ นนทบุรี ชลบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น เชียงใหม่ สุราษฏ์ธานี และภูเก็ต มีเครือข่ายตั้งแต่ โรงพยาบาลระยะเฉียบพลัน-โรงพยาบาลชุมชน-หน่วยบริการในระดับตำบล ตลอดจนอปท. ซึ่งในแต่ละพื้นที่ก็ได้มีการสร้างศูนย์ดูแลกลางวันเพื่อให้บริการแก่ผู้สูงอายุ ในการทำกิจกรรมสันทนาการ และการฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยจำนวนศูนย์ดูแลกลางวันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในแต่ละพื้นที่เพื่อรองรับผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นในอนาคต โดยเน้นศูนย์ดูแลกลางวันแบบมีส่วนร่วมโดยชุมชน (Community-based) และมีการประสานงานทั้งทางภาครัฐ ภาคีเครือข่าย และประชาชน ตัวอย่างการดำเนินงานศูนย์กลางวันที่อยู่ในพื้นที่โครงการ ฯ คือ จังหวัดนนทบุรี ซึ่งเป็นหนึ่งในพื้นที่นำร่องของโครงการได้มีเป้าหมายในการขยายศูนย์ดูแลกลางวันให้ครอบคลุมทุกตำบล พบว่า ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงร้อยละ 20 สามารถดำเนินชีวิตประจำได้ดียิ่งขึ้น (ADL มากกว่า 3 คะแนน) ค่าใช้จ่ายในการฟื้นฟูสุขภาพลดลง เฉลี่ยเดือนละ 1,500 บาทต่อครอบครัว ลดระยะเวลาในการไปรับบริการที่โรงพยาบาล 3-5 ชั่วโมงต่อครั้ง สร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้สูงอายุและครอบครัวถึงร้อยละ 95 แสดงให้เห็นว่าการมีบริการศูนย์ดูแลกลางวันในชุมชนนอกจากจะทำให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแล สุขภาพดีขึ้น ลดภาระของครอบครัว ยังทำให้สร้างความสัมพันธ์ในชุมชนให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้นอีกด้วย
ทั้งนี้เนื่องจากในอนาคตอันใกล้นี้ ประเทศไทยและทั่วโลกจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบโครงการ S-TOP จึงอยากให้คนไทยได้ตระหนักถึงความสำคัญและเข้าใจการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี และให้คนในทุกช่วงอายุสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
9月21日は敬老の日です。皆さんは、どのように敬老の日をお過ごしでしょうか。
S-TOPのオフィスがあるタイの保健省の敷地には「これからずっと会えるように、今は距離を保ちましょう」という大きな看板が掲げられており、特に高齢者の新型コロナウイルス感染対策は重要課題です。
S-TOPのパイロットサイトでも、お年寄りの新型コロナウィルスの感染を防ぐために、オンライン診療やお薬の郵送など様々な方策が取られています。特に新型コロナウィルスの影響で、お年寄りが病院に行くことが難しい状況にある中で、家族介護者や高齢者ボランティアの方々が、高齢者の身の回りのお世話や簡単なリハビリテーションを行い、高齢者の生活を支える重要な役割を担っています。S-TOPでは、全国8つのパイロット県をオンラインで結び、新型コロナウィルスの影響下でどのように高齢者の方々にリハビリテーションや介護サービスが提供できるか、新たな試みや課題を協議する場を作っています。また、パイロット県でのデイケアセンターの設立にも、日本の知識・経験の共有を通じて貢献しています。これからも、高齢者の方々が安心して医療・リハビリテーション・介護中間ケアサービスを受けられるように、タイ政府・自治体、病院やコミュニティの皆さんと力をあわせて活動していきたいと思います。
11th Working Team meeting of S-TOP project has been conducted on 15th September 2020 at Ministry of Public Health (MOPH).
In the meeting, we have reported on Form 4 collection, discussed the distribution of polo shirts to PR the project, shared the progress on the Midterm review and the changes in Japan Training as well as guidelines of the candidates to participate in Knowledge Co-Creation Program (KCCP) by online in 9-19th November 2020 from Ministry of Public Health, Human Security and National Health Security Office.
การประชุมคณะทำงานโครงการ Project on Seamless Health and Social Services Provision for Elderly Persons ครั้งที่ 10 ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2563 ที่กระทรวงสาธารณสุข โดยในที่ประชุมมีการรายงานการจัดเก็บ Form 4 การแจกเสื้อเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการฯ การรายงานความคืบหน้าของการทบทวนระยะกลาง และการเปลี่ยนแปลงในการจัด Japan Training รวมถึงแนวทางการคัดเลือกผู้แทนจากกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อเข้าร่วมการอบรม Knowledge Co-Creation Program (KCCP) ทางออนไลน์ ในวันที่ 9-19 พฤศจิกายน 2563
☆Sharing video on "Bed mobility, support on sit up", made by the former JICA rehabilitation volunteers☆
We’d like to share the 6th video clip in mini-series of “how to support basic movements of those who have difficulties on these”. Please refer below points when you watch and practice!
Point 1: Instead of bending down the body of caregiver which gives physical stress to lower back of caregiver, bring the subject's body closer to the caregiver, and use the subject's buttocks as a fulcrum to get up with the weight of the lower limbs.
Point 2: Make sure that the subject put his weight “on elbow” and then “on hand” when the subject gets up and, as well as when the subject lies down make sure that the subject put his weight “on hand” and then “on elbow”.
☆ แชร์คลิปวิดีโอเรื่อง “การเคลื่อนย้ายตัวบนเตียง การช่วยเหลือในการนั่ง) จัดทำวิดีโอโดย อาสาสมัครด้านการฟื้นฟูสภาพของ JICA ☆
สำหรับวิดีโอที่ 6 ของชุดวิดีโอเรื่อง "การช่วยเหลือการเคลื่อนไหวเบื้องต้นสำหรับผู้มีปัญหาในการเคลื่อนไหวและการช่วยเหลือตนเอง" ขอให้ลองดูประเด็นต่าง ๆ ตามหัวข้อด้านล่างดังต่อไปนี้ ในขณะที่คุณดูวิดีโอหรือเมื่อนำไปฝึกปฏิบัติจริง!
จุดที่ 1: ใช้การเคลื่อนตัวผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุให้เข้ามาใกล้ผู้ดูแล โดยให้ใช้สะโพกของผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุเป็นจุดศูนย์ถ่วงในการลุกขึ้นนั่งร่วมกับการใช้น้ำหนักของท่อนขาส่วนล่างแทนการใช้การงอตัวของผู้ดูแลอันจะทำให้เกิดแรงกระทำต่อหลังส่วนล่างของผู้ดูแลได้
จุดที่ 2: ในขณะที่ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุลุกขึ้นนั่ง ให้แน่ใจว่าผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุลงน้ำหนักที่ “ข้อศอก” แล้วตามด้วยการลงน้ำหนักบน “มือ” เช่นเดียวกัน ในกรณีที่เปลี่ยนจากท่านั่งไปสู่ท่านอนบนเตียงให้ลงน้ำหนักที่ “มือ” ก่อนแล้วจึงตามด้วยการลงน้ำหนักบน “ข้อศอก”
☆動画紹介:“ベッド上起き上がり全介助(側臥位⇒端坐位)” ―介助者にも介助される側にも負担の少ない実践例― 元JICAボランティア リハビリテーション隊員より☆
動画ミニシリーズ “基本動作の介助方法” から、本日は、ベッド上で横向きに寝ている状態から腰掛ける動作についてご紹介します。動画をご覧になる際、実践される際は以下のポイントに気をつけてください。
ポイント1:腰を曲げかがみ込むのではなく、介助者に対象者の身体を近付け、対象者の臀部を支点にして、下肢の重みで起き上がります。
ポイント2:対象者には、起き上がる時・横になる時、両方でOn hand、On elbow(動作の途中で対象者が手・肘を上手くベッドに付き体重をのせていくこと)を意識してもらいましょう。
การประชุมคณะทำงานหลักโครงการ Project on Seamless Health and Social Services Provision for Elderly Persons ครั้งที่ 10 ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม ที่กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ระบบวิดิโอการประชุมทางไกล โดยมีตัวแทน 9 ท่านจากกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และบุคลากรทางการแพทย์ 56 ท่าน จาก 8 พื้นที่นำร่องของโครงการเข้าร่วมการประชุม (กรุงเทพมหานคร, นนทบุรี, ชลบุรี, นครรราชสีมา, ขอนแก่น, เชียงใหม่, สุราษฎร์ธานี, และภูเก็ต) มีการรายงานความคืบหน้าจากพื้นที่นำร่องทั้ง 8 พื้นที่ ในการดำเนินงานในกิจกรรมของโครงการและสถานการณ์ปัจจุบันภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ Covid-19 ทั้งนี้บางพื้นที่มีความจำเป็นต้องเลื่อนการดำเนินงานบางกิจกรรมออกไป เช่น โปรแกรมการเยี่ยมบ้านในผู้ป่วยระยะกลางและการฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และผู้ดูแลในครอบครัว อย่างไรก็ตามพื้นที่นำร่องหลายพื้นที่ได้มีการดำเนินงานบางกิจกรรมอย่างต่อเนื่องโดยการนำระบบการแพทย์ทางไกลมาใช้ (Telemedicine) รวมถึงการฟื้นฟูสมรรถภาพออนไลน์ และการใช้สื่อวิดีโอ นอกจากนี้ยังมีการอภิปรายเกี่ยวกับกิจกรรมในอนาคตของแต่ละพื้นที่นำร่องซึ่งรวมไปถึงระบบการติดตามเยี่ยมและประเมินผลการดำเนินงานแบบใหม่ของทางโครงการ S-TOP ระหว่างผู้เข้าร่วมการประชุมเช่นกัน
10th Working Team meeting of S-TOP project has been conducted on 6th August at Ministry of Public Health (MOPH) with the video conference system. 9 representatives from MOPH, Ministry of Social Development and Human Security and 56 medical professionals from 8 pilot sites of S-TOP (Bangkok, Nonthaburi, Chonburi, Nakhon Ratchasima, Khon Kaen, Chiang Mai, Surat Thani and Phuket) attended the meeting. Progress of S-TOP activities and current situation under COVID-19 were shared by 8 pilot sites. Some sites reported they had to postpone project activities such as home health care program to IMC patients and training for medical professionals and family care givers. However, many pilot sites continue project activities by introducing tele medicine, online rehabilitation, and video materials. The future activities at the pilot sites including the monitoring and evaluation system by S-TOP were discussed among the participants during the meeting.
8月6日に第10回S-TOPワーキングチーム会議が保健省の会議室とオンラインで開催されました。保健省や社会開発人間安全保障省から9名、S-TOPのパイロットサイト8県(バンコク、ノンタブリ、チョンブリ、ナコンラチャシマ、コンケン、チェンマイ、スラタニ、プーケット)から56人の医療専門職らが出席しました。会議では、プロジェクトの活動進捗状況と新型コロナウィルスの影響について、8県のパイロットサイトの代表者らが発表を行いました。新型コロナウィルスにより、中間ケア患者への訪問診療が行えなかったり、医療従事者や家族介護者への研修を中止したりするなどの影響が見られました。しかし、多くのサイトにおいて、遠隔診療やオンラインリハビリテーション、オンラインの研修教材の開発など、新型コロナウィルスの影響下においてもプロジェクトの活動を進める努力と挑戦の様子が見られました。会議では、今後、パイロットサイトのモニタリング評価をどのように進めたら良いかについて参加者で意見交換を行いました。
8th Floor, 7th Building, Office Of Permanent Secretary, Ministry Of Public Health, Tiwanon Rd.
Nonthaburi
11000
本件は以下の組織により共同で実施されます。 This Project is cooperated by the organizations as bellows. โครงการนี้เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 保健省:Ministry of Public Health, กระทรวงสาธารณสุข 社会開発・人間の安全保障省:Ministry of Social Development and Human Security, กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 国民保障医療機構:National Health Security Office, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 国際協力機構タイ事務所:JICA Thailand Office, สำนักงาน JICA ประเทศไทย
จันทร์ | 08:30 - 16:30 |
อังคาร | 08:30 - 16:30 |
พุธ | 08:30 - 16:30 |
พฤหัสบดี | 08:30 - 16:30 |
ศุกร์ | 08:30 - 16:30 |
รับทราบข่าวสารและโปรโมชั่นของ JICA S-TOP Projectผ่านทางอีเมล์ของคุณ เราจะเก็บข้อมูลของคุณเป็นความลับ คุณสามารถกดยกเลิกการติดตามได้ตลอดเวลา
ส่งข้อความของคุณถึง JICA S-TOP Project:
Mr. YOKOTA, First Secretary from the embassy of Japan in Bangkok, Mr. YUASA, Senior Representative and Ms. KAWAI, Representative from JICA Thailand Office and S-TOP members visited Nonthaburi pilot site to observe the intermediate care service provision and follow up progress and plan of their activities. We visited 3 areas including Pranangklao Hospital, Ban Uea Athon Bangbuathong 1 Day Care Center and Bangbuathong 2 Hospital. On the site visit, we had seen the comprehensive intermediate care service provision start from acute hospital, community hospital and day care center in the community. Moreover, we could see involvement of patient and family and team work of multidisciplinary team for elderly care. ในวันที่ 15 ตุลาคม 2563 Mr. YOKOTA เลขานุการเอกจากสถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทย Mr. YUASA ผู้แทนอาวุโส และ Ms. KAWAI ผู้แทน จากสำนักงาน JICA Thailand และทีมโครงการ S-TOP ได้ลงพื้นที่เพื่อสังเกตการณ์การดำเนินงานการบริการการดูแลระยะกลางในพื้นที่นำร่องจังหวัดนนทบุรีเพื่อติดตามความคืบหน้าในการดำเนินกิจกรรมและแผนการดำเนินงานในพื้นที่ ประกอบด้วย โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า ศูนย์ดูแลฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุโครงการบ้านเอื้ออาทรบางบัวทอง 1 และ โรงพยาบาลบางบัวทอง 2 ในการลงเยี่ยมครั้งนี้ทำให้ได้เห็นการให้บริการการดูแลระยะกลางอย่างครอบคลุม ตั้งแต่โรงพยาบาลระยะเฉียบพลัน โรงพยาบาลชุมชน ตลอดจนศูนย์ดูแลในชุมชน นอกจากนี้ยังได้เห็นการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติ และการทำงานร่วมกันของสหสาขาวิชาชีพในพื้นที่เพื่อผู้สูงอายุ
☆Sharing video, "Stand up with full support ", made by the former JICA rehabilitation volunteers☆ Let us share the 7th video clip from the mini-series of “how to support basic movements of those who have difficulties on these”. Please refer below points when you watch and practice! Point 1: Please raise the seat if possible, so that a subject can stand up easier than usual Point 2: Caregiver can also use a chair to prevent back pain. Point 3: Some people are afraid to lean forward when standing up. In such a case, if there is a person or an object in front of them, they can safely load in front of them. People with sensory paralysis are generally afraid to move their bodies to an empty space. Point 4: This method is also effective as a load exercise of feet. In this case, the caregiver needs to be aware of controlling trunk of the subject by his trunk and monitoring the legs of the subject at any time. ☆ แชร์คลิปวิดีโอเรื่อง “(การฝึกยืน แบบช่วยเหลือทั้งหมด) จัดทำวิดีโอโดย อาสาสมัครด้านการฟื้นฟูสภาพของ JICA ☆ สำหรับวิดีโอที่ 7 ของชุดวิดีโอเรื่อง "การช่วยเหลือการเคลื่อนไหวเบื้องต้นสำหรับผู้มีปัญหาในการเคลื่อนไหวและการช่วยเหลือตนเอง" ขอให้ลองดูประเด็นต่าง ๆ ตามหัวข้อด้านล่างดังต่อไปนี้ ในขณะที่คุณดูวิดีโอหรือเมื่อนำไปฝึกปฏิบัติจริง! จุดที่ 1: ปรับที่นั่งของผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุให้สูงถ้าทำได้ เพื่อให้ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุสามารถยืนได้ง่ายขึ้น จุดที่ 2: ผู้ดูแลสามารถใช้เก้าอี้นั่งได้เพื่อป้องกันการเกิดการบาดเจ็บที่หลังของผู้ดูแล จุดที่ 3: ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุบางคนจะมีความกลัวที่จะโน้มตัวไปข้างหน้าขณะลุกขึ้นยืน ในกรณีนี้การที่มีคนหรือสิ่งของอยู่ทางด้านหน้าจะช่วยให้พวกเขาสามารถยึดเกาะไว้ได้เพื่อความมั่นคงปลอดภัย ส่วนใหญ่ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุที่สูญเสียประสาทการรับรู้ความรู้สึกจะมีความกลัวที่จะเคลื่อนไหว/เคลื่อนย้ายร่างกายในพื้นที่โล่ง จุดที่ 4: วิธีฝึกยืนนี้ยังมีประสิทธิภาพเพื่อใช้ไนการฝึกการลงน้ำหนักที่เท้าของผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุเช่นกัน ในการจะฝึกลงน้ำหนักที่เท้านี้ ผู้ดูแลจำเป็นที่จะต้องค
1st October, International Day of Older Persons “International Day of Older Persons” is observed on October 1st each year. It was first established by the United Nations on October 1st 1991 as an important day for older persons around the world, for the reason to show the value of the elderly and let the public realize that the elderly’s life has made a meaningful contribution and many virtues including their creation for society from the past to the present. The S-TOP project is a project that tries to improve seamless health and social care service for the elderly by applying knowledge and experiences of Japan, to the Thai context, to reduce the number of dependent elderly as well as the burden of their family in Thailand. By doing so, we believe the elderly in Thailand will have a better quality of life (QOL) and can lead a happy life. Currently, S-TOP has intermediate care operations, which are the keys to link acute care to long-term care, in the 8 pilot sites across Thailand including Bangkok, Nonthaburi, Chonburi, Nakhon Ratchasima, Khon Kaen, Chiang Mai, Surat Thani and Phuket. There is a network between acute hospital, community hospital and, health and social facilities in the sub-district level, which some areas have established day care centers to provide services to the elderly such as recreational activities and rehabilitation. The numbers of day care centers tend to increase in each area to provide services for the increasing numbers of elderly in the future. Focusing on community-based day care centers, there is coordination and collaboration between the government sector, network and civil sector. One example on the implementation of day care centers in the pilot site is Nonthaburi Province. It targeted to expand the day care centers to cover all districts in the province. The outcomes of the implementation are, for example, 20% of the independent elderly can conduct better Activities of Daily Living, reduction of the expense r
☆Sharing video on "Bed mobility, support on sit up", made by the former JICA rehabilitation volunteers☆ We’d like to share the 6th video clip in mini-series of “how to support basic movements of those who have difficulties on these”. Please refer below points when you watch and practice! Point 1: Instead of bending down the body of caregiver which gives physical stress to lower back of caregiver, bring the subject's body closer to the caregiver, and use the subject's buttocks as a fulcrum to get up with the weight of the lower limbs. Point 2: Make sure that the subject put his weight “on elbow” and then “on hand” when the subject gets up and, as well as when the subject lies down make sure that the subject put his weight “on hand” and then “on elbow”. ☆ แชร์คลิปวิดีโอเรื่อง “การเคลื่อนย้ายตัวบนเตียง การช่วยเหลือในการนั่ง) จัดทำวิดีโอโดย อาสาสมัครด้านการฟื้นฟูสภาพของ JICA ☆ สำหรับวิดีโอที่ 6 ของชุดวิดีโอเรื่อง "การช่วยเหลือการเคลื่อนไหวเบื้องต้นสำหรับผู้มีปัญหาในการเคลื่อนไหวและการช่วยเหลือตนเอง" ขอให้ลองดูประเด็นต่าง ๆ ตามหัวข้อด้านล่างดังต่อไปนี้ ในขณะที่คุณดูวิดีโอหรือเมื่อนำไปฝึกปฏิบัติจริง! จุดที่ 1: ใช้การเคลื่อนตัวผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุให้เข้ามาใกล้ผู้ดูแล โดยให้ใช้สะโพกของผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุเป็นจุดศูนย์ถ่วงในการลุกขึ้นนั่งร่วมกับการใช้น้ำหนักของท่อนขาส่วนล่างแทนการใช้การงอตัวของผู้ดูแลอันจะทำให้เกิดแรงกระทำต่อหลังส่วนล่างของผู้ดูแลได้ จุดที่ 2: ในขณะที่ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุลุกขึ้นนั่ง ให้แน่ใจว่าผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุลงน้ำหนักที่ “ข้อศอก” แล้วตามด้วยการลงน้ำหนักบน “มือ” เช่นเดียวกัน ในกรณีที่เปลี่ยนจากท่านั่งไปสู่ท่านอนบนเตียงให้ลงน้ำหนักที่ “มือ” ก่อนแล้วจึงตามด้วยการลงน้ำหนักบน “ข้อศอก” ☆動画紹介:“ベッド上起き上がり全介助(側臥位⇒端坐位)” ―介助者にも介助される側にも負担の少ない実践例― 元JICAボランティア リハビリテーション隊員より☆ 動画ミニシリーズ “基本動作の介助方法” から、本日は、ベッド上で横向きに寝ている状態から腰掛ける動作についてご紹介します。動画をご覧になる際、実践される際は以下のポイントに気をつけてください。 ポイント1:腰を曲げかがみ込むのではなく、介助者に対象者の身体を近付け、対象者の臀部を支点にして、下肢の重みで起き上がります。 ポイント2:対象者には、起き上がる時・横になる時、両方でOn hand、On elbow(動作の途中で対象者が手・肘を上手くベッ
S-TOP ช่วยให้มีการปรับปรุงที่อยู่ให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ซึ่งตรงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนข้อที่ 11 คือ ทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความทั่วถึง ปลอดภัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง และยั่งยืน / sustainable cities and communities ในปัจจุบันประเทศไทยยังขาดโครงสร้างพื้นฐานที่รองรับผู้สูงอายุได้อย่างเต็มรูปแบบ ทำให้ผู้สูงอายุยังไม่สามารถไปไหนมาไหนได้สะดวก ขาดการเชื่อมต่อระหว่างการขนส่ง โครงการได้ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาบ้านที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รวมถึงจัดเตรียมอุปกรณ์ ให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ในการดำเนินกิจวัตรประจำวันได้ มีการจัดรถรับส่งสำหรับผู้สูงอายุ เมื่อมีโครงสร้างพื้นฐานที่รองรับก็จะทำให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ชีวิตด้วยตนเองได้สะดวกยิ่งขึ้นและอาศัยความช่วยเหลือจากผู้อื่นน้อยที่สุด S-TOP helps to improve and modify suitable residence for the elderly. This in line with the Sustainable Development Goal 11, is to make cities and human settlements inclusive, safe, resilient and sustainable/ sustainable cities and communities. At present, infrastructure in Thailand still has not fully supports for the elderly person. For this reason, the elderly is unable to travel conveniently by themselves as the transportation is not fully connected. The S-TOP project has collaborated with local administrative organizations to modify proper home for the elderly including provide equipment to use in their daily activities and shuttle bus for the elderly to receive rehabilitation. With a supported infrastructure, elderly people are able to live their lives more conveniently by themselves with the least help from others.
โครงการ S-TOP มีวัตถุประสงค์ที่จะจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายสำหรับรัฐบาลไทยในการจัดบริการการดูแลระยะกลางของประเทศในอนาคต ซึ่งจะช่วยในการผลักดันเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเป้าหมายข้อที่ 10 คือ Reduce Inequality หรือ การลดความไม่เสมอภาคทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ โดยการจัดบริการสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่ห่างไกล นโยบายในการเพิ่มสิทธิประโยชน์ให้กับผู้สูงอายุและผู้พิการ และในฐานะที่ประเทศญี่ปุ่นเป็นต้นแบบของสังคมผู้สูงอายุและมีประสบการณ์ในการดูแลผู้สูงอายุ ตลอดจนการวางนโยบายเพื่อรองรับผู้สูงอายุ โดยเฉพาะระบบสุขภาพและการดูแลระยะยาวในประเทศญี่ปุ่นที่ช่วยสนับสนุนด้านค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังช่วยลดภาระของครอบครัว จากการดำเนินงานของโครงการ S-TOP จะได้ผลลัพธ์ในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค และการพัฒนาบริการการดูแลระยะกลาง รวมทั้งการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายสำหรับการดูแลระยะกลางของประเทศต่อไป S-TOP aims to provide a policy proposal for the Thai government in order to provide intermediate care services for the future which helps driving sustainable development goals particularly in Goal 10, reduce in equality. To reduce both internal and international inequality by providing health services to people in remote areas and policies to increase benefits for the disabled and the elderly person. As Japan is the model of an aging society and has experience in caring for the elderly as well as policies to support the elderly. Especially the health care system and long-term care in Japan helps supporting the expenses for elderly care. In addition, it also reduces the burden of the family. From the operations of S-TOP, it will make progress on addressing problems and obstacles and developing intermediate care services and providing the policy proposal for the country's IMC in the future.
S-TOP ทำให้เกิดความยั่งยืนในการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งมีส่วนช่วยในการผลักดันเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนข้อที่ 3 คือ Good Health and Well being เป็นการสร้างหลักประกันการมีสุขภาพดีและส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับทุกคนในทุกวัย โดย S-TOP กำลังพัฒนาระบบการบริการการดูแลระยะกลางให้เหมาะสมมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ตลอดจนพัฒนาบุคลากร โดยมีการประชุมความคืบหน้าการดำเนินการในแต่ละพื้นที่เพื่อให้เห็นการดำเนินการและความคืบหน้าในแต่ละพื้นที่ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งยังมีการประชุมคณะกรรมการ และมีการจัดอบรม ณ ประเทศญี่ปุ่น เพื่อให้บุคลากรไทยได้เรียนรู้ระบบการดูแลระยะกลางในด้านนโยบายและการปฏิบัติจริงของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งสามารถนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีการอบรมสำหรับวิชาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อย่างเช่น พยาบาล นักกายภาพบำบัด นักกิจกรรมบำบัด ตลอดจนผู้ดูแล ให้พร้อมสำหรับการให้บริการ S-TOP creates sustainability in elderly care which enhance sustainable development goal number 3, Good Health and Well-being. For the reason to ensure good health and promote well-being for everyone at all ages. S-TOP is in the process of developing a suitable intermediate care service system with good quality and efficient including human resource development. To do so, S-TOP organizes meetings and monitoring in each pilot site to see the operations and progression. On top of that, S-TOP gives advice to address the problems and obstacles. S-TOP also sets up committee meeting and Japan Training program for Thai personnel to learn about intermediate care system from Japan’s experiences which will be able to apply in Thai context. Moreover, there are other rehabilitation training programs for relevant professions such as nurse, physical therapist, occupational therapist and caregiver in order to be ready for providing services.
☆ Sharing video on "Support for moving in sitting position on bed/chair", made by JICA rehabilitation volunteers☆ Let us share the 3rd video clip in mini-series of “how to support basic movements of those who have difficulties on these”. Please refer below points when you watch and practice! Point1: Focus on shifting elderly/disabled person’s weight to the side where he loads, rather than raising up his buttocks Point2: Support the trunk of elderly/disabled person and bend his body to the side opposite to his weight shifted side. Point3: When elderly/disabled person’s buttocks floats, pull/push his floated pelvis to the direction of the movement you want to obtain. Point4: Let's move caregiver and elderly/disabled person’s body in the same way as if they were making the same movement at the same time! ☆ แชร์คลิปวิดีโอเรื่อง “การช่วยเหลือในการเคลื่อนย้ายผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุในท่านั่งบนเตียง/เก้าอี้ แบบการช่วยเหลือบางส่วน) จัดทำวิดีโอโดย อาสาสมัครด้านการฟื้นฟูสภาพของ JICA ☆ สำหรับวิดีโอที่ 3 ของชุดวิดีโอเรื่อง "การช่วยเหลือการเคลื่อนไหวเบื้องต้นสำหรับผู้มีปัญหาในการเคลื่อนไหวและการช่วยเหลือตนเอง" ขอให้ลองดูประเด็นต่าง ๆ ตามหัวข้อด้านล่างดังต่อไปนี้ ในขณะที่คุณดูวิดีโอหรือเมื่อนำไปฝึกปฏิบัติจริง! จุดที่ 1: ให้ความสำคัญที่การเปลี่ยนถ่ายน้ำหนักตัวของผู้สูงอายุ/ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว ลงไปทางด้านข้าง แทนการยกก้นของผู้สูงอายุ/ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหวขึ้นมา จุดที่ 2: ให้การพยุงช่วยเหลือช่วงลำตัวของผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุและเอียงช่วงลำตัวของผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุไปทางด้านตรงข้ามกับด้านที่เรากำลังต้องการจะเปลี่ยนถ่ายน้ำหนักไป จุดที่ 3: ขณะที่ก้นของผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุลอยขึ้น ใช้การพยุงขึ้น/กดบริเวณกระดูกปีกสะโพกไปยังทิศทางที่ต้องการจะเคลื่อนย้ายไป จุดที่ 4: Caregiver เคลื่อนย้ายตัวเองไปพร้อมผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุในรูปแบบเดียวกัน เพื่อให้เกิดเคลื่อนไหวที่เหมือนกันในขณะที่เคลื่อนย้ายผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุ! ☆動画紹介:座位前後移動(後方介助)-介助者にも介助される側にも負担の少ない実践例-JICAボランティア リハビリテーション隊員より☆ 動画
☆Sharing "Transfer between bed and chair/wheelchair with partial support" video made by JICA rehabilitation volunteers☆ Let us share the 2nd video clip in mini-series of “how to support basic movements of those who have difficulties on these”. Please refer below points when you watch and practice! Point 1: Position the legs of elderly / persons with disabilities close to where to be moved (chair, wheelchair, bed and so on). Point 2: Lean forward the body of elderly / persons with disabilities then load their weight to their feet. By doing so, please avoid them to stand up to upside. Point 3: Use “weight shift” and “trunk rotation” of elderly / persons with disabilities, not by “stepping”. ☆ แชร์คลิปวิดีโอเรื่อง “การเคลื่อนย้ายผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุระหว่างเตียงกับเก้าอี้หรือรถเข็น แบบการช่วยเหลือบางส่วน) จัดทำวิดีโอโดย อาสาสมัคร JICA ด้านการฟื้นฟูสภาพ☆ สำหรับวิดีโอที่ 2 ของชุดวิดีโอเรื่อง "การช่วยเหลือการเคลื่อนไหวเบื้องต้นสำหรับผู้มีปัญหาในการเคลื่อนไหวและการช่วยเหลือตนเอง" ขอให้ลองดูประเด็นต่าง ๆ ตามหัวข้อด้านล่างดังต่อไปนี้ ในขณะที่คุณดูวิดีโอหรือเมื่อนำไปฝึกปฏิบัติจริง! จุดที่ 1: ตำแหน่งขาของผู้สูงอายุ/ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหวให้อยู่ใกล้กับที่ที่จะเคลื่อนย้ายผู้สูงอายุ/ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหวไป (เก้าอี้, รถเข็น, หรือเตียง เป็นต้น) จุดที่ 2: โน้มบริเวณลำตัวของผู้สูงอายุ/ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหวาทางด้านหน้า ให้น้ำหนักตัวของผู้สูงอายุ/ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหวตกลงบนเท้าทั้งสองข้าง กรุณาระวังไม่ให้ผู้สูงอายุ/ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหวยืนขึ้นจากตรงจุดนี้ จุดที่ 3: ใช้การ “เปลี่ยนถ่ายน้ำหนักตัว” และ “การหมุนลำตัว” ของผู้สูงอายุ/ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว ไม่ใช่ “การก้าวขา” ในการเคลื่อนย้ายผู้สูงอายุ/ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว ☆動画紹介:移乗(部分介助_ベッド-椅子/車椅子)-介助者にも介助される側にも負担の少ない実践例-JICAボランティア リハビリテーション隊員より☆ 動画ミニシリーズ“基本動作の介助方法”から、本日は、部分的に介護が必要な方の移乗介助方法をご紹介します。動画をご覧になる際、実践される際は以下のポイントに気をつけてください。 ポイント1:対象者の足を移動する側に近付けておきます。 ポイント2:対象者の体感を前傾させ、しっかり足底に荷重してもらう。対象者が無理に上方に立ち上がろうとするのを防げます。 ポイント3:ステップ動作をしなくても、体重移動や体幹回旋を上手く使う事で移乗が楽にできます。
☆Sharing "Transfer between bed and chair/wheelchair with full support" video made by JICA rehabilitation volunteers☆ Former JICA rehabilitation volunteers, Takayuki Seii and Toshiyuki Miwa made the video clips on how to support basic movements of those who have difficulties on these and self-help. From this week, S-TOP will upload these video clips regularly as a mini- series! Today’s video is how to transfer between bed and chair/wheelchair with full support, especially, of those who need severe care Here is the brief description. 1.) The caregiver standing in front of the disabled/elderly person, ask the disabled/elderly person to hold their hands or arms or place it over the shoulder of the caregiver. 2.) Use both hands to grasp the disabled/elderly’s shoulder blades or/with the disabled/elderly’s belt or waist. 3.) Lean the disabled/elderly person forward (approach to the caregiver). *Do not pull him up by force. It will affect back of caregivers. 4.) Then turned disabled/elderly person to a chair, let his body weight shift towards the chair, and let him sit down slowly. ☆ แชร์คลิปวิดีโอเรื่อง "การเคลื่อนย้ายผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุระหว่างเตียงกับเก้าอี้หรือรถเข็น แบบการช่วยเหลือทั้งหมด" จัดทำวิดีโอโดย อาสาสมัคร JICA ด้านการฟื้นฟูสมรรถสภาพ ☆ ทาคายุกิ เซอิ และ โตชิยุกิ มิวะ อดีตอาสาสมัคร JICA ด้านการฟื้นฟูสมรรถสภาพ ได้จัดทำวิดิโอการสอนขึ้นในเรื่อง "การช่วยเหลือการเคลื่อนไหวเบื้องต้นสำหรับผู้มีปัญหาในการเคลื่อนไหวและการช่วยเหลือตนเอง" จากสัปดาห์นี้เป็นต้นไปโครงการ S-TOP จะอัพโหลดชุดวิดิโอคลิปสอนการฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งวิดิโอสำหรับวันนี้คือ การเคลื่อนย้ายจากเตียงไปที่เก้าอี้หรือรถเข็น โดยเป็นการช่วยเหลือทั้งหมด สำหรับผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุที่ต้องการการช่วยเหลือแบบทั้งหมด วิธีการเคลื่อนย้ายดังกล่าวสามารถทำได้โดยการ 1.) ผู้ดูแลยืนทางด้านหน้าผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุ ให้ผู้มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว/ผู้สูงอายุ จับมือ/แขนของตนเองไว้หรือยกพาดไว้เหนือไหล่ผู้ดูแล 2.) ผู้ดูแลใช้มือทั้งสองจับที่สะบักของผู้มีปัญหาทางการเคลื่อน
2018年9月5日ナコンラチャシマ・サイトの活動計画策定のためのキックオフ会議開催。当サイトはLTOPからS-TOPと連続して関わることになる。 Kick-off Meeting for preparing Activity Plan of Nakhon Ratchasima Site was held on 5th September 2018. This site take part in S-TOP Project continuously from LTOP. เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2561 ได้มีการจัดการประชุม Kick-off Meeting ขึ้นเพื่อจัดทำแผนกิจกรรมของพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา โดยพื้นที่นี้มีส่วนร่วมในโครงการ S-TOP และยังเป็นพื้นที่โครงการต่อเนื่องมาจากโครงการ LTOP
全国展開に向けて、高齢者への医療とリハビリテーション、社会及び生活支援サービスの切れ目のない提供のための地域に根ざしたモデルが開発される。
1. 医療とリハビリ、社会及び生活支援サービスの切れ目のない提供のため、中央レベルとパイロット・サイトの状況分析により解決すべき問題を確定する。
2. 既存の取り組みに基づき、医療とリハビリテーション、社会及び生活支援のための切れ目ないサービス提供モデルがパイロット・サイトで開発される。
3. 日本とタイの知見と合わせてパイロット・サイトでのモデル実施結果に基づく提言が作成される。
Toward the nationwide expansion, community-based models are developed for the seamless provision of medical, rehabilitative, social and life-support services for elderly persons.
1. For the seamless provision of medical, rehabilitative, social and life-support services, issues to be solved are identified through the situation analysis at the central level and pilot sites.
2. Based on the existing initiatives, models are developed at pilot sites for the seamless provision of medical, rehabilitative, social and life-support services.
3. Recommendations are developed based on the implementation results of the models at pilot sites as well as Thai and Japanese knowledge and experiences.
เพื่อให้เกิดการเผยแพร่ในระดับประเทศ รูปแบบที่มีชุมชนเป็นฐานได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อให้เกิดการบริการทั้งทางด้านการแพทย์ การฟื้นฟูสมรรถภาพ ทางสังคม และการช่วยเหลือในการดำรงชีวิต แบบไร้รอยต่อ
1. เพื่อให้เกิดการให้บริการอย่างไร้รอยต่อทั้งทางด้านการแพทย์ การฟื้นฟูสมรรถภาพ ทางสังคมและการช่วยเหลือในการดำรงชีวิต ได้มีการระบุปัญหาที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขผ่านการวิเคราะห์สถานการณ์ทั้งในระดับส่วนกลางและในพื้นที่นำร่อง
2.จากพื้นฐานกิจกรรมที่พื้นที่ได้ริเริ่มและดำเนินการอยู่ก่อนหน้าแล้ว นำมาทำให้เกิดรูปแบบที่ได้รับการพัฒนาขึ้นในพื้นที่นำร่องเพื่อการให้บริการอย่างไร้รอยต่อทั้งทางด้านการแพทย์ การฟื้นฟูสมรรถภาพ ทางสังคม และการให้ความช่วยเหลือในการดำรงชีวิตนั้น
3. ข้อเสนอแนะได้รับการจัดทำขึ้น โดยอาศัยผลลัพธ์ที่ได้จากการดำเนินงานตามรูปแบบในพื้นที่นำร่อง รวมถึงความรู้และประสบการณ์ของทั้งไทยและญี่ปุ่น
กองการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
88/23 ม.4 ต.ตลาดขวัญ อ.เมืองWorld Health Organization Thailand
WHO Thailand, Office of the Permanent Secretary Building 3, 4th Fl., Ministry of Public Health, Tiwanon Road, Amphoe Muang Nonthaburiกองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธาร
สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข, Bangkokสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
88/22, Bangkokมูลนิธิพัฒนาการศึกษาบุคลากรสุขภาพแห่งชาติ - ศ
ถนน สาธารณสุข 6, Bangkokงูเหล็ก รับแก้ไขปัญหาท่อตัน / ส้วมตัน
291/15 ซอย ติวานนท์ 24 ถนน ติวานนท์ ตำบล บางกระสอ อำเภอ เมืองนนทบุรีรายการสัญจรปลอดภัยกับกรมการขนส่งทางบก จังหวัด
ชมรมสื่อสร้างสรรค์ไทย 19/30 หมู่ที่ 4 ตำบลบางคูรัด อำเภอบางบัวทอง