
19/04/2020
ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์น้ำท่วม สาธารณสุขจังหวัดราชบุรี(RbphoFlood)
ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์ COVID19 จังหวัดราชบุรี ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์น้ำท่วมจังหวัดราชบุรี
เปิดเหมือนปกติ
ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์น้ำท่วม สาธารณสุขจังหวัดราชบุรี(RbphoFlood)
ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์น้ำท่วม สาธารณสุขจังหวัดราชบุรี(RbphoFlood)'s cover photo
http://thaiflood.kapook.com/view73075.html
ฝนกระหน่ำราชบุรี ทำน้ำป่าหลากสวนผึ้ง ซัดคอสะพานขาด เสาไฟฟ้าแรงสูงล้ม ไฟดับทั้งหมู่บ้านที่ ต.ตะนาวศรี
EOC 12/10/55
ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์น้ำท่วม สาธารณสุขจังหวัดราชบุรี(RbphoFlood)'s cover photo
ติดตามสภาพฝนฟ้า-อากาศ 11/10/55
EOC 11/10/55
EOC 10/10/55
ติดตามสภาพฝนฟ้า-อากาศกันอีกวันหลัง "แกมี" เคลื่อนไป
ข่าวค่ำDNN 'แกมี' จะสลายตัวในบ่ายพรุ่งนี้
http://www.youtube.com/watch?v=FokbWuKU5R0&feature=autoplay&list=UUbreprPTiIDAAJ9yiO5NF3w&playnext=1
กรมอุตุนิยมวิทยาออกประกาศเตือนฉบับที่ 18 พายุโซนร้อน “แกมี” (GAEMI) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนกลาง โดยระบุว่ามีศูนย์กลางอยู่ห่างจากทางตะวันออกของเมืองดานัง ประเทศเวียดนามประมาณ 750 กิโลเมตร หรือที่ ละติจูด 14.5 องศาเหนือ และ ลองจิจูด 115.8 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 90 กม./ชม.
โดยพายุกำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกด้วยความเร็วประมาณ 10 กม./ชม. คาดว่า พายุจะมีกำลังแรงขึ้นและเคลื่อนขึ้นฝั่งตอนกลางของประเทศเวียดนามในวันที่ 6 ตุลาคม 2555 จากนั้นจะอ่อนกำลังลงและเคลื่อนผ่านภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออก และภาคกลาง ของประเทศไทย
ลักษณะเช่นนี้ทำให้ในช่วงวันที่ 6-8 ตุลาคม 2555 บริเวณพื้นที่ตามเส้นทางเดินพายุและพื้นที่ใกล้เคียง มีฝนหนาแน่นเพิ่มมากขึ้น และมีฝนตกหนักถึงหนักมากในหลายพื้นที่ กับมีลมแรง โดยเริ่มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกก่อน ส่วนภาคกลางและภาคเหนือตอนล่างจะได้รับผลกระทบในระยะต่อไป ขอให้ประชาชนในพื้นที่ดังกล่าวระมัดระวังอันตรายจากฝนตกหนักถึงหนักมากและลมแรงในช่วงระยะนี้
สำหรับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยจะมีกำลังแรงขึ้น ส่งผลให้ภาคใต้ฝั่งตะวันตกมีฝนเพิ่มมากขึ้น ส่วนคลื่นลมบริเวณอ่าวไทยตอนบน และทะเลอันดามันจะมีกำลังแรงขึ้นในช่วงวันที่ 7-9 ตุลาคม 2555 โดยมีคลื่นสูง 2-3 เมตร ขอให้ชาวเรือเพิ่มความระมัดระวังอันตรายในการเดินเรือ และเรือเล็กควรงดออกจากฝั่ง
กรมอุตุนิยมวิทยาออกประกาศเตือน พายุโซนร้อน “แกมี” (GAEMI) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนกลาง ล่าสุดมีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 950 กิโลเมตร ทางตะวันออกของเมืองดานัง ประเทศเวียดนาม หรือที่ ละติจูด 14.9 องศาเหนือ และ ลองจิจูด 118.0 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 95 กม./ชม.โดยเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกอย่างช้าๆ และยังไม่มีผลกระทบโดยตรงต่อประเทศไทยในระยะนี้
คาดว่าพายุจะทวีกำลังแรงขึ้น และจะเคลื่อนขึ้นฝั่งตอนกลางของประเทศเวียดนามในวันที่ 6 ตุลาคม 2555 จากนั้นจะเคลื่อนผ่านภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง และภาคกลางของประเทศไทย ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยจะมีกำลังแรงขึ้น ลักษณะเช่นนี้ทำให้ในช่วงวันที่ 5-8 ตุลาคม 2555 บริเวณประเทศไทยมีฝนหนาแน่นเพิ่มมากขึ้น และมีฝนตกหนักถึงหนักมากในหลายพื้นที่กับมีลมแรง โดยเริ่มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกก่อน จากนั้นภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง และภาคใต้ฝั่งตะวันตกจะได้ผลกระทบในระยะต่อไป ขอให้ประชาชนระมัดระวังอันตรายจากสภาวะอากาศร้ายในช่วง วันเวลาดังกล่าว สำหรับคลื่นลมบริเวณอ่าวไทยตอนบน และทะเลอันดามันจะมีกำลังแรงขึ้น โดยมีคลื่นสูง 2-3 เมตร ขอให้ชาวเรือเพิ่มความระมัดระวังอันตรายในการเดินเรือ และเรือเล็กควรงดออกจากฝั่งไว้ด้วย
จุฬาฯ เตือน....
นักวิชาการ จุฬาฯ เตือน พายุแกมีถล่ม อาจทำน้ำท่วมขัง กทม. 2 สัปดาห์ โดย 8 พื้นที่ ที่น่าจะต้องเผชิญกับน้ำท่วมขังประมาณ 30 เซนติเมตร นานกว่า 2 สัปดาห์ มีดังนี้ http://bit.ly/Ssr9dx (บ้านใครโดนบ้างเอ่ย)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี
ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์น้ำท่วม สาธารณสุขจังหวัดราชบุรี(RbphoFlood)'s cover photo
กรมอุตุนิยมวิทยา ออกประกาศเรื่อง "พายุ “เกมี” (GAEMI)" ฉบับที่ 4 ลงวันที่ 2 ต.ค. โดยระบุว่า เมื่อเวลา 04.00 น. วันที่ 2 ต.ค. พายุโซนร้อน “เกมี” (GAEMI) ที่ทวีกำลังแรงขึ้นจากพายุดีเปรสชันบริเวณทะเลจีนใต้ตอนกลาง โดยมีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 700 กิโลเมตร ทางตะวันออกของเมืองดานัง ประเทศเวียดนาม หรือที่ ละติจูด 17.0 องศาเหนือ และ ลองจิจูด 114.8 องศาตะวันออก มีความเร็วสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 65 กม./ชม. พายุนี้เกือบจะไม่เคลื่อนที่ และในช่วงวันที่ 2-3 ต.ค. 2555 ยังไม่มีผลกระทบโดยตรงต่อประเทศไทย
ในช่วงวันที่ 4-5 ต.ค. คาดว่า พายุนี้จะเคลื่อนขึ้นฝั่งตอนกลางของประเทศเวียดนาม และในช่วงวันที่ 6-7 ต.ค. จะเคลื่อนผ่านประเทศลาวตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง ของประเทศไทย ตามลำดับ ประกอบมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยมีกำลังแรงขึ้น
รายงานสถานการณ์อุทกภัย 2 ตุลาคม 2555 เวลา 16.00 น.
http://emc.moph.go.th/index.php?option=com_phocadownload&view=category&download=1173:-2--2555--1600-&id=19:-54&Itemid=88
รายงานสถานการณ์อุทกภัย 2 ตุลาคม 2555 เวลา 16.00 น.
http://emc.moph.go.th/index.php?option=com_phocadownload&view=category&download=1173:-2--2555--1600-&id=19:-54&Itemid=88
ข่าวน้ำท่วม จังหวัดราชบุรี ล่าสุด ร่วมแรง ส่งใจ ช่วยเหลือผู้ประสบภัย ศูนย์กลางข้อมูลช่วยเหลือผู้ประสบภัย ติดตาม สถานการณ์น้ำท่วม คลิกที่นี่
คู่มือ ICS สำหรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
http://www.emit.go.th/main/upload/file/25550315112350.pdf
คู่มือ ICS สำหรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
ข้อมูลแผนที่ที่เกี่ยวข้องกับราชบุรี
http://ratchaburi.kapook.com/
จังหวัดราชบุรี ข้อมูล สถานที่ท่องเที่ยว สถานที่น่าสนใจ ร้านอาหาร ที่พัก โรงแรม เที่ยวจังหวัดราชบุรี แผนที่จังหวัดราชบุรี แผนที่ประเทศไทย คลิกเลย
ข้อมูลแผนที่ที่เกี่ยวข้องกับราชบุรี
http://ratchaburi.kapook.com/
จังหวัดราชบุรี ข้อมูล สถานที่ท่องเที่ยว สถานที่น่าสนใจ ร้านอาหาร ที่พัก โรงแรม เที่ยวจังหวัดราชบุรี แผนที่จังหวัดราชบุรี แผนที่ประเทศไทย คลิกเลย
ฝนที่ตกลงมาอย่างหนักในพื้นที่จังหวัดระยอง ทำให้น้ำป่าจากเขาชะเมาไหลเข้าท่วมบ้านเรือนใน ต.ทุ่งควายกิน อ.แกลง มีผู้ได้รับผลกระทบกว่า 300 คน
ติดตามสภาพลมฟ้าอากาศ....ผ่านกรมอุตุนิยมวิทยา
http://www.tmd.go.th/region.php?RegionID=3
เตรียมตัวอะไรกันบ้าง.....กับสถานการณ์แบบนี้
รวบรวมข้อมูลที่ตั้งของโรงพยาบาล
http://hospital.thaiflood.com/
รวบรวมข้อมูลที่ตั้งของโรงพยาบาล
http://hospital.thaiflood.com/
ติดตามความเคลื่อนไหวผ่าน.... http://www.thaiflood.com/
ผู้ว่าฯอยุธยา ประกาศ 6 อำเภอภัยพิบัติฉุกเฉินแล้ว คนเดือดร้อนกว่าครึ่งหมื่นหลังคาเรือน ขณะน้ำสูง 10-50 ซ.ม.
วันนี้ (11 กันยายน) นายวิทยา ผิวผ่อง ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในฐานะผู้อำนวยการศูนย์บัญชาการส่วนหน้าของพระนครศรีอยุธยา เปิดเผยภายหลังการประชุมศูนย์ว่า ขณะนี้ได้ประกาศให้ พื้นที่ 6 อำเภอ ประกอบด้วย อ.ผักไห่ อ.เสนา อ.บางปะอิน อ.บางไทร และ อ.พระนครศรีอยุธยา เป็นพื้นที่ภัยพิบัติฉุกเฉินแล้ว ล่าสุด มีประชาชนได้รับความเดือนร้อนจากน้ำล้นตลิ่งเข้าไปในพื้นที่ถึง 5,000 หลังคาเรือน เฉลี่ยน้ำอยู่ในระดับ 10 - 50 เซนติเมตร โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถนำเงินทดลองจ่ายไปใช้ในการป้องกันและเยียวยาช่วยเหลือพี่น้องประชาชนได้ พร้อมสั่งการให้ คณะกรรมการใน 4 ลุ่มน้ำ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องระบายน้ำและหาพื้นที่รองรับน้ำเข้าทุ่ง
ฟื้นระบบขึ้นมาอีกครั้ง...หลังภารกิจจางหายไป..ช่วงที่ผ่านมา เหมือนว่าเรายังไม่ลืม...สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในปี 2554 เตรียมพร้อม .... http://203.157.147.1/floodrb/
เฝ้าระวังพายุระลอกใหม่ 13 ก.ย.นี้
นายรอยล จิตรดอน ผู้อำนวยการสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์กรมหาชน) หรือ สสนก.ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ ในคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย หรือ กบอ. ย้ำว่า สิ่งที่ทำให้มั่นใจและกล้าพูดได้เต็มปากว่าปีนี้ (2555) น้ำจะไม่ท่วมเหมือนปีที่ผ่านมา มาจากหลายปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
"อิทธิพลของฝนส่งผลกระทบต่อปริมาณน้ำในภาพรวม จากปัจจัยของร่องมรสุมและความกดอากาศต่ำ ซึ่งประเทศไทยยังต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวบ้าง ในพื้นที่บางส่วนของประเทศ แต่ไม่ได้มากเท่ากับปี 54" เขากล่าว
ในส่วนของระดับน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา แม่น้ำแต่ละสาย ถูกจับตาถึงความเปลี่ยนแปลงที่เพื่อการตัดสินใจระบายน้ำได้อย่างทันท่วงที นายรอยล บอกว่า ทุกวันนี้คณะทำงานมีการควบคุมระดับน้ำในเขื่อน และการพร่องน้ำ ให้เป็นไปตามสถานการณ์น้ำจริง เพื่อป้องกันปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้งอย่างที่ไม่เคยทำมาก่อน ตลอดจนการแก้ปัญหาด้านโครงสร้าง ขุดลองคูคลอง ยกระดับถนนที่เคยขวางเส้นทางน้ำ เตรียมการพื้นที่รับน้ำไว้พอสมควร ปัจจัยเหล่านี้เป็นตัวช่วยยืนยันว่าหากเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมในปีนี้ ก็จะไม่รุนแรงเท่ากับปีที่ผ่านมา
ปัจจัยที่กล่าวมาทั้งหมดยังอยู่ภายใต้การควบคุม และแผนที่วางไว้ โดยระดับน้ำในลำน้ำ ณ ปัจจุบัน ยังไม่พบว่ามีจุดใดล้นตลิ่ง ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการพร่องน้ำไม่ให้เกินศักยภาพของลำน้ำที่จะรับได้ "ผลจากการพร่องน้ำจากปริมาณน้ำฝนที่ตกหนักในภาคเหนือ และพร่องน้ำออกจากเขื่อนเพื่อรักษาระดับน้ำในเขื่อนให้อยู่ที่ 80% อย่างต่อเนื่อง สิ่งที่เห็นชัดเจนคือระดับน้ำในแม่น้ำนครสวรรค์ ณ ปัจจุบัน อยู่ที่ 1,829 ลบ.ม./วินาที เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาซึ่งระดับน้ำสูงถึง 3,500 ลบ.ม/วินาที" เขาให้ข้อมูล และว่า สถานการณ์การระบายน้ำจากเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ ณ ปัจจุบัน อยู่ต่ำกว่า 5 ล้านลบ.ม./วัน เทียบกับปีที่ผ่านมาซึ่งมีการระบายมากถึง 30-50 ลบ.ม./วัน เนื่องจากกรมชลประทานได้มีการพร่องน้ำอย่างต่อเนื่อง ทำให้ไม่จำเป็นต้องเร่งระบายน้ำออกจากเขื่อน
เฝ้าระวังพายุระลอกใหม่ 13 ก.ย.นี้
นายรอยล จิตรดอน ผู้อำนวยการสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์กรมหาชน) หรือ สสนก.ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ ในคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย หรือ กบอ. ย้ำว่า สิ่งที่ทำให้มั่นใจและกล้าพูดได้เต็มปากว่าปีนี้ (2555) น้ำจะไม่ท่วมเหมือนปีที่ผ่านมา มาจากหลายปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
"อิทธิพลของฝนส่งผลกระทบต่อปริมาณน้ำในภาพรวม จากปัจจัยของร่องมรสุมและความกดอากาศต่ำ ซึ่งประเทศไทยยังต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวบ้าง ในพื้นที่บางส่วนของประเทศ แต่ไม่ได้มากเท่ากับปี 54" เขากล่าว
ในส่วนของระดับน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา แม่น้ำแต่ละสาย ถูกจับตาถึงความเปลี่ยนแปลงที่เพื่อการตัดสินใจระบายน้ำได้อย่างทันท่วงที นายรอยล บอกว่า ทุกวันนี้คณะทำงานมีการควบคุมระดับน้ำในเขื่อน และการพร่องน้ำ ให้เป็นไปตามสถานการณ์น้ำจริง เพื่อป้องกันปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้งอย่างที่ไม่เคยทำมาก่อน ตลอดจนการแก้ปัญหาด้านโครงสร้าง ขุดลองคูคลอง ยกระดับถนนที่เคยขวางเส้นทางน้ำ เตรียมการพื้นที่รับน้ำไว้พอสมควร ปัจจัยเหล่านี้เป็นตัวช่วยยืนยันว่าหากเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมในปีนี้ ก็จะไม่รุนแรงเท่ากับปีที่ผ่านมา
ปัจจัยที่กล่าวมาทั้งหมดยังอยู่ภายใต้การควบคุม และแผนที่วางไว้ โดยระดับน้ำในลำน้ำ ณ ปัจจุบัน ยังไม่พบว่ามีจุดใดล้นตลิ่ง ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการพร่องน้ำไม่ให้เกินศักยภาพของลำน้ำที่จะรับได้ "ผลจากการพร่องน้ำจากปริมาณน้ำฝนที่ตกหนักในภาคเหนือ และพร่องน้ำออกจากเขื่อนเพื่อรักษาระดับน้ำในเขื่อนให้อยู่ที่ 80% อย่างต่อเนื่อง สิ่งที่เห็นชัดเจนคือระดับน้ำในแม่น้ำนครสวรรค์ ณ ปัจจุบัน อยู่ที่ 1,829 ลบ.ม./วินาที เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาซึ่งระดับน้ำสูงถึง 3,500 ลบ.ม/วินาที" เขาให้ข้อมูล และว่า สถานการณ์การระบายน้ำจากเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ ณ ปัจจุบัน อยู่ต่ำกว่า 5 ล้านลบ.ม./วัน เทียบกับปีที่ผ่านมาซึ่งมีการระบายมากถึง 30-50 ลบ.ม./วัน เนื่องจากกรมชลประทานได้มีการพร่องน้ำอย่างต่อเนื่อง ทำให้ไม่จำเป็นต้องเร่งระบายน้ำออกจากเขื่อน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี
ศูนย์ข้อมูลผู้พักพิงผู้ประสบภัย จ.ราชบุรี ณ วันที่ 9 ธันวาคม 2554 ขณะนี้ปิดไปแล้ว 7 ศูนย์คงเหลือผู้ประสบภัย 1,062 ราย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี
ข้อมูลศูนย์พักพิงผู้ประสบภัย จ.ราชบุรี ณ วันที่ 8 ธันวาคม 2554 ตอนนี้ปิดตัวไป 7 แห่งแล้ว ผู้ประสบภัยเริ่มเดินทางกลับ ตอนนี้คงเหลือพักพิง อยู่ 1,062 ราย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี
ข้อมูลศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัย จ.ราชบุรี ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2554 ซึ่งขณะนี้เริ่มปิดตัวไป 6 แห่งแล้ว ยังคงเหลืออีก 15 ศูนย์ฯ และมียอดผู้ประสบภัย 1,082 ราย(ตามตาราง)
Ratchaburi
Ratchaburi
จันทร์ | 09:00 - 17:00 |
อังคาร | 09:00 - 17:00 |
พุธ | 09:00 - 17:00 |
พฤหัสบดี | 09:00 - 17:00 |
ศุกร์ | 09:00 - 17:00 |
รับทราบข่าวสารและโปรโมชั่นของ ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์น้ำท่วม สาธารณสุขจังหวัดราชบุรี(RbphoFlood)ผ่านทางอีเมล์ของคุณ เราจะเก็บข้อมูลของคุณเป็นความลับ คุณสามารถกดยกเลิกการติดตามได้ตลอดเวลา
ส่งข้อความของคุณถึง ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์น้ำท่วม สาธารณสุขจังหวัดราชบุรี(RbphoFlood):
สำนักงานเกษตรอำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี
Damnoensaduak, Damnoen Saduakสำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดราชบุรี
ศาลากลางจังหวัดราชบุรีสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดราชบุรี
292/27 หมู่ 10 ต.ดอนตะโก อ.เมือง จ.ราชบุรี 70000 (อยู่ท้ายตลาดศรีเมือง)สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 4 ราชบุรี
ห้วยไผ่ อ.เมืองราชบุรี, จ.ราชบุรี 70000องค์การบริหารส่วนตำบลเขาแร้ง จังหวัดราชบุรี (
ตำบลเขาแร้ง, Amphoe Muang Rat Buriศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 5
407 ถ.ยุติธรรม ต.หน้าเมือง อ.เมืองสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี
421 ถนนศรีสุรยวงศ์ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 4 ราชบุรี
ห้วยไผ่ อ.เมืองราชบุรี, จ.ราชบุรี 70000สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 10 จังหวัดราชบุรี
8 ถ.เสือป่า ต.หน้าเมือง